(%YOY)
2566 ประมาณการ
Q1 Q2 Q3 2566 2567
GDP 2.6 1.8 1.5 2.5 2.7 - 3.7
GDP การผลิต
อุตสาหกรรม
-3.0 -3.0 -4.0 -3.0 2.0 - 3.0
MPI -3.70 -5.51 -6.27 -4.8 2.0 - 3.0
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนพฤศจิกายน 2566
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)
การกลั่นน้ำมัน +29.91 %
จากน้ำมันแก๊สโซฮอล์ น้ำมันเบนซิน และน้ำมันเครื่องบิน
จากการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่องและการหยุดซ่อม
บำรุงโรงกลั่นของผู้ผลิตบางรายในปีก่อน
เครื่องประดับเพชรพลอย +12.9 %
จากสินค้าสร้อยและแหวนเป็นหลัก เนื่องจากผู้ผลิต
รายใหญ่ได้รับคำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลปลายปี
สายไฟ +24.89 %
ตามการขยายตัวของตลาดในประเทศ จากคำสั่งซื้อ
ต่อเนื่องของการไฟฟ้าทั้ง MEA, PEA และ EGAT
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)
ยานยนต์ -14.13 %
หดตัวจากตลาดในประเทศเป็นหลัก โดยเฉพาะการผลิต
และการจำหน่ายรถบรรทุกปิกอัพ เนื่องจากความเข้มงวด
ในการอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -16.38 %
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงประเภทสินค้าที่ผลิต
ในกลุ่ม home-use มาผลิตสินค้ากลุ่มอุตสาหกรรม
แทน เช่น ยานยนต์ และ IOT เป็นต้น
เหล็กและเหล็กกล้า -14.19 %
จากการหยุดซ่อมบำรุงของผู้ผลิตบางราย และความต้องการ
ใช้ยังคงหดตัวตามภาวะเศรษฐกิจ รวมถึงผู้บริโภคบางราย
มีการนำเข้าเหล็กที่มีราคาถูกจากต่างประเทศ
การผลิต พ.ย. 2566
ม.ค.-พ.ย.
2566
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
(MPI, %YOY) -4.71 -5.01
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ) 57.87 59.38
ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นายนเรศ กิจจาพัฒนพันธ์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680613 ดาวน์โหลดข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2566
ประมาณการ 2566-2567 : GDP โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.
ปี 2566 ประมาณการ MPI หดตัวร้อยละ 4.8 และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 3.0 (YOY)
ปี 2567 ประมาณการ MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.0 - 3.0 (YOY)
พฤศจิกายน 2566
? เศรษฐกิจโลก ประเทศคู่ค้ายังคงชะลอตัว เนื่องจากนโยบายการเงินของ
ต่างประเทศยังคงตรึงอัตราดอกเบี้ยในระดับสูง
? อุตสาหกรรมยานยนต์ ติดลบต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 จากคำสั่งซื้อในประเทศ
ที่ยังคงชะลอตัวเป็นหลัก ทั้งนี้การส่งออกยานยนต์ยังคงเติบโตได้ดี
? เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวช้า ผลพวงจากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่
เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนทางการเงินของผู้ประกอบการและภาระหนี้สิน
ผู้บริโภคปรับตัวสูงขึ้น บั่นทอนกำลังซื้อในประเทศ
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนพฤศจิกายน 2566 หดตัวร้อยละ 4.71
(YOY)
ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ
ต้นทุนการผลิต ค่าครองชีพ
หนี้สินภาคธุรกิจและ
ครัวเรือนอยู่ในระดับสูง
สภาพภูมิอากาศแปรปรวน
จากภัยแล้ง
ปัจจัยกดดัน
การส่งออกเริ่มทยอย
ฟื้นตัว
การบริโภคในประเทศ
มีแนวโน้มขยายตัวดี
การลงทุนภาคเอกชนมี
ทิศทางเติบโตต่อเนื่อง
ปัจจัยสนับสนุน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม