(%YOY) 2566 ประมาณการ ปี 2567 Q1 Q2 Q3 Q4
GDP
2.6
1.8
1.5
N/A
2.7 - 3.7 GDP การผลิต อุตสาหกรรม -3.0 -3.0 -4.0 N/A 2.0 - 3.0
MPI
-3.7
-5.5
-6.3
-5.1
2.0 - 3.0
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนธันวาคม 2566
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)
การกลั่นน้ำมัน +7.22 %
จากน้ำมันดีเซล น้ำมันเครื่องบิน และก๊าซหุงต้ม จากการฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว และโรงกลั่นของผู้ผลิตบางรายเริ่มกลับมาผลิตตามปกติ
สายไฟ +43.29 %
ตามการขยายตัวของตลาดในประเทศ หลังได้รับคำสั่งซื้อต่อเนื่องจากหน่วยงานการไฟฟ้าของรัฐ และความต้องการใช้ในภาคเอกชนขยายตัว
กระดาษ +20.28 %
ตามความต้องการใช้ในบรรจุภัณฑ์และการขนส่งสินค้า ประกอบกับราคาเยื่อกระดาษปรับลดลง จากปีก่อน ทำให้มีการเพิ่มคำสั่งซื้อมากขึ้น
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)
ยานยนต์ -20.59 %
หดตัวจากตลาดในประเทศเป็นหลัก โดยเฉพาะรถบรรทุกปิคอัพ เนื่องจากปัญหาหนี้ครัวเรือนในระดับสูง ทำให้สถาบันการเงินเพิ่มความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อ
น้ำตาล -22.93 %
จากการเปิดหีบช้ากว่าปีก่อน รวมถึงยังมีฝนตกชุก ในหลายพื้นที่เพาะปลูก ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเข้า ตัดอ้อย โรงงานบางส่วนจึงเลื่อนกำหนดการเปิดหีบออกไป
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -12.61 %
จาก Integrated circuits (IC) และ PCBA เป็นหลัก เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ทำให้ความต้องการชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ของตลาดโลกลดลง
การผลิต ธ.ค. 2566 ม.ค.-ธ.ค. 2566 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI, %YOY) -6.27 -5.11
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ)
55.25
59.06
ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นายนเรศ กิจจาพัฒนพันธ์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680613 ดาวน์โหลดข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2567
ประมาณการ 2566-2567 : GDP โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.
ปี 2567 ประมาณการ MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.0 - 3.0 (YOY)
เติบโตตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศที่มีแนวโน้มฟื้นตัว
ธันวาคม 2566
?
เศรษฐกิจโลก และประเทศคู่ค้าฟื้นตัวในระดับต่ำกว่าที่คาด เนื่องจากนโยบายการเงินของต่างประเทศยังคงตรึงอัตราดอกเบี้ยในระดับสูง
?
ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ลดลง ติดลบต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 จากคำสั่งซื้อในประเทศที่ยังคงชะลอตัวเป็นหลัก
?
หนี้ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้ต้นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนธันวาคม 2566 หดตัวร้อยละ 6.27 (YOY)
ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ที่ยืดเยื้อ
ต้นทุนการผลิต ค่าครองชีพ
หนี้สินภาคธุรกิจและครัวเรือนอยู่ในระดับสูง
สภาพภูมิอากาศแปรปรวน จากภัยแล้ง
ปัจจัยกดดัน
การส่งออกเริ่มทยอย
ฟื้นตัว
การบริโภคในประเทศ
มีแนวโน้มขยายตัวดี
การลงทุนภาคเอกชนมีทิศทางเติบโตต่อเนื่อง
ปัจจัยสนับสนุน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม