(%YOY) 2566 ประมาณการ Q1 Q2 Q3 Q4 2567
GDP
2.6
1.8
1.4
1.7
2.2 - 3.2 GDP การผลิต อุตสาหกรรม -2.6 -3.5 -4.4 -2.4 2.0 - 3.0
MPI
-2.11
-4.39
-5.25
-2.87
2.0 - 3.0
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนมกราคม 2567
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)
เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ +14.16 %
ความต้องการบริโภคหลังสภาพอากาศร้อนขึ้น มีการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ตรงกับพฤติกรรมการบริโภคของลูกค้า
ปุ๋ยเคมี +58.68 %
จากราคาปุ๋ยปรับลดลงและสินค้าเกษตรได้ราคาดี
ทำให้เกษตรกรมีกำลังซื้อปุ๋ยมากขึ้น
เครื่องประดับเพชรพลอย +19.00 %
ขยายตัวทั้งตลาดในประเทศและตลาดส่งออก รวมถึงฐานต่ำในปีก่อนจากปัญหาเงินเฟ้อทั่วโลก
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)
ยานยนต์ -9.63 %
ชะลอตัวทั้งตลาดในประเทศ จากปัญหาหนี้ครัวเรือน รวมทั้งสถาบันการเงินเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ และตลาดส่งออก จากปัญหาเรือขนส่งมีพื้นที่ไม่เพียงพอ
การกลั่นน้ำมัน -6.45 %
จากการหยุดซ่อมบำรุงโรงกลั่นของผู้ผลิตบางราย ส่งผลให้มีปริมาณจำหน่ายน้ำมันในประเทศลดลงด้วย
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -17.71 %
ชะลอตัวในอุตสาหกรรมยานยนต์และสงครามการค้า ที่ยังไม่คลี่คลาย แต่ยังได้ปัจจัยบวกจากการเติบโตของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
การผลิต ม.ค. 2567 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI, %YOY) -2.94
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ)
59.43
ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นางสาวดุสิตา เนตรโรจน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680615 ดาวน์โหลดข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2567
ประมาณการ 2567 : GDP โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.
ปี 2566 MPI หดตัวร้อยละ 3.78 และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 3.2 (YOY)
ปี 2567 ประมาณการ MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.0 - 3.0 (YOY)
มกราคม 2567
?
การผลิตยานยนต์ลดลง เป็นเดือนที่ 6 โดยหดตัวทั้งจากกำลังซื้อภายในประเทศและการส่งอออกที่ล่าช้า
?
หนี้ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง และ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้ต้นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น
?
ปรากฏการณ์เอลนีโญที่เริ่มรุนแรงขึ้น ในช่วงต้นปี 2567
?
การขยายตัวของภาคการท่องเที่ยวและการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม อาจหนุนให้การผลิตรองรับการบริโภคในระยะถัดไปปรับตัวเพิ่มขึ้นได้
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) มกราคม 2567 หดตัวร้อยละ 2.94 (YOY)
ปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ
ต้นทุนการผลิต ค่าครองชีพ
หนี้สินภาคธุรกิจและครัวเรือนอยู่ในระดับสูง
สภาพภูมิอากาศแปรปรวน จากภัยแล้ง
ปัจจัยกดดัน
เศรษฐกิจและการค้าโลกทยอยฟื้นตัว
การท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่อง
มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ
ปัจจัยสนับสนุน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม