สศอ.
เผย ดัชนี MPI ก พ . 256 2567 หดตัวร้อยละ 2.2.84
จับตา
ส่งออกสินค้า อุตฯ ข ยายตัวเดือนที่ 5 นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 หนุนดัชนีฟื้นตัวดีขึ้น
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ
เผยดัชนี ผล ผลิตอุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กุมภาพันธ์
ปี 2567 อยู่ ที่ ระดับ 99 27 หดตัว ร้อยละ 2.2.84 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อ น จากการผลิตยานยนต์
ลดลงเป็น เดือนที่ 7 เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวได้ช้า หลัง ปัญหาหนี้ภาคครัวเรือนอยู่ในระดับสูง และ
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อต้นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการ ด้าน การส่งออก
สินค้าอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 1 80 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 และจำนวนนักท่องเที่ยวสะสมเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 50 คาดจะทำให้ดัชนี MPI หลังจากนี้ปรับตัวดีขึ้น
นางวรวรรณ ชิตอรุณ
ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปิดเผยว่า ดัชนีผลผลิต
อุตสาหกรรม ( MPI) เดือน กุมภาพันธ์ ปี 256 2567 อยู่ที่ระดับ 99 27 หดตัว ร้อยละ 2.2.84 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี ก่อน มี อัตราการใช้กำลังการผลิต อยู่ที่ ร้ อยละ 59.77 ส่งผลให้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ช่วง 2 เดือนแรก
ของปี 256 7 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.88 สาเหตุหลัก จากการผลิตยานยนต์ลดลงเป็นเดือน ที่ 7 เป็นการ หดตัว
จากภายในประเทศ เศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัว ได้ ช้ จากปัญหาหนี้ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง
ทำ ให้ผู้บริโภคยังคงระมัดระวังในการจับจ่ายใช้สอย และ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลต่อ ต้นทุน
ทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (ไม่รวม
ทองคำ อาวุธ รถถัง และอากาศยานรบ) เดือน กุมภาพันธ์ 2567 ขยายตัวร้อยละ 1 80 ขยายตัว ต่อเนื่อง
เป็นเดือนที่ 5 รวมถึง การขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว โดยใน 2 เดือน แรกของปี 2567 มีจำนวนนักท่องเที่ยว
สะสม อยู่ที่ 6.38 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งการ กลับมาขยายตัว ดังกล่าว
คาดว่า จะส่งผล ทำ ให้ดัชนี MPI หลังจากนี้ ปรับตัว ดีขึ้น
ระบบ การเตือนภัยด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ภาพรวม ของไทยเดือน มีนาคม 2 56567 ?ส่งสัญญาณ
เฝ้าระวัง? ส่งสัญญาณ ในทิศทางดีขึ้น จากเดือนก่อนหน้า เนื่องจาก ภาพรวมการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้ม
ฟื้นตัวได้ในระยะนี้ สำหรับ ปัจจัยต่างประเทศ ยังคงต้อง เฝ้าระวังในตลาดสหรัฐฯ และติดตามภาวะถดถอย
ในภาคการผลิตญี่ปุ่น
?
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17 เนื่อง จากอุตสาหกรรมหลักที่หดตัวต่อเนื่อง
และมีน้ำหนักในการคำนวณ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม มาก ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ โดย ภาพรวมการผลิต
เดือน กุมภาพันธ์ 2567 ลดลง ร้อยละ 19.28 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงเป็นเดือนที่ 7 สาเหตุหลัก
มา จากการผลิตเพื่อขายในประเทศ โดยมีจำนวนการผลิต 46,928 คัน ลดลงร้อยละ 26.37 จากเดือนกุมภาพันธ์ 2566
ที่มีการผลิตจำนวน 63,732 คัน ขณะที่การผลิตเพื่อส่งออก มีจำนวน 86,762 คัน ลดลงร้อยละ 9.25
จากเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ที่ผลิตได้ 95,612 คัน ? นางวรวรรณ กล่าว
สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตเดือน
สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลบวกต่อดัชนีผลผลิตเดือนกุมภาพันธ์กุมภาพันธ์ 2562567 เมื่อเทียบกับ เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 7..59 จากจากน้ำมันน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันเบนซิน ดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันเบนซิน 91 และ แก๊สโซฮอล์ และ แก๊สโซฮอล์ 91 เป็นหลัก ตามความต้องการบริโภคในเป็นหลัก ตามความต้องการบริโภคในภาคขนส่งและเดินทางท่องเที่ภาคขนส่งและเดินทางท่องเที่ยวที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องยวที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
ปุ๋ยเคมี
ปุ๋ยเคมีและสารประกอบไนโตรเจนและสารประกอบไนโตรเจน ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 39.82 จากการทำจากการทำโปรโมชั่นกระตุ้นยอดขาย ราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดอยู่ในเกณฑ์ดีโปรโมชั่นกระตุ้นยอดขาย ราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดอยู่ในเกณฑ์ดี เกษตรกรมีกำลังซื้อเกษตรกรมีกำลังซื้อมากขึ้นมากขึ้น
เครื่องประดับเพชรพลอยแท้
เครื่องประดับเพชรพลอยแท้ ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละร้อยละ 24..56 โดยโดยขยายตัวขยายตัว ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า ทำให้มีคำสั่งซื้อและส่งออกไปประเทศคู่ค้าสำคัญได้มากขึ้นทำให้มีคำสั่งซื้อและส่งออกไปประเทศคู่ค้าสำคัญได้มากขึ้น
สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผล
สำหรับอุตสาหกรรมหลักที่ส่งผลลบลบต่อดัชนีผลผลิตเดือนต่อดัชนีผลผลิตเดือนกุมภาพันธ์กุมภาพันธ์ 2562567 เมื่อเทียบกับ เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่ช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้แก่
ยานยนต์
ยานยนต์ หดหดตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ ตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 16..833 จากจากบรรทุกปิคอัพ รถยนต์นั่งบรรทุกปิคอัพ รถยนต์นั่ง ขนาดเล็ก เครื่องยนต์ดีเซล และรถยนต์นั่งขนาดใหญ่ขนาดเล็ก เครื่องยนต์ดีเซล และรถยนต์นั่งขนาดใหญ่ เป็นหลัก เป็นหลัก ตามการชะลอตัวของตลาดในประเทศ กำลังซื้อตามการชะลอตัวของตลาดในประเทศ กำลังซื้อของผู้บริโภคอ่อนตัว ของผู้บริโภคอ่อนตัว ตลอดจนตลอดจนสถาบันการเงินสถาบันการเงินมีความมีความเข้มงวดเข้มงวดในการในการปล่อยสินเชื่อ ปล่อยสินเชื่อ
ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ หดหดตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 1ตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 18..66 จากจากผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ Integrated circuits (IC) และ และ PCBA ตามความต้องการสินค้าในตลาดโลกที่ปรับตัวลดลงตามความต้องการสินค้าในตลาดโลกที่ปรับตัวลดลง
น้ำมันปาล์ม
น้ำมันปาล์ม หดตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ หดตัวลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 27..23 จากจากผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้ำมันปาล์มดิบน้ำมันปาล์มดิบและน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ และน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ เนื่องเนื่องจากภาวะภัยแล้งฝนทิ้งช่วงจากภาวะภัยแล้งฝนทิ้งช่วง ส่งผลให้มีผลปาล์มดิบลดลงกว่าปีก่อน การหดตัวส่งผลให้มีผลปาล์มดิบลดลงกว่าปีก่อน การหดตัวของตลาดของตลาด ในประเทศและตลาดส่งออก หลังอินโดนีเซียกลับมาส่งออกอีกครั้งทำให้ราคาในตลาดโลกในประเทศและตลาดส่งออก หลังอินโดนีเซียกลับมาส่งออกอีกครั้งทำให้ราคาในตลาดโลก ปรับตัวลดลง ปรับตัวลดลง
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต (รายเดือน)
Index
2566
2566
2567
ก.พ.
ก.พ.
มี.ค.
มี.ค.
เม.ย.
เม.ย.
พ.ค.
พ.ค.
มิ.ย.
มิ.ย.
ก.ค.
ก.ค.
ส.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ก.ย.
ต.ค.
ต.ค.
พ.ย.
พ.ย.
ธ.ค.
ธ.ค.
ม.ค.
ม.ค. ก.พ.ก.พ.
ดัชนีผลผลิต
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอุตสาหกรรม
102.1717
109.6868
87.3434
99.88
99.88
97.755
95.0303
96.936.93
95.800
94.2626
96.876.87
92.122
99.16 99.27
อัตราการ
อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((MOM) %) %
0.011
7.366
-20.3737
14.355
-2.1313
-2.788
2.00
2.00
-1.177
-1.600
2.7777
-4.900
7.64 0.11
อัตราการ
อัตราการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง ((YOY) %) %
-0.6262
-2.8181
-8.008.00
-2.8383
-4.20
-3.900
-5.933
-5.8888
-2.499
-1.5050
-4.666
-2.93 -2.84
อัตราการใช้
อัตราการใช้กำลังการผลิตกำลังการผลิต
63.2323
66.6868
54.5555
61.0505
60.0909
58.2525
58.633
58.233
57.233
58.978.97
55.944
59.19 59.77
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่
ที่มา : กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ข้อมูล ณ วันที่ 28 มีนาคม มีนาคม 2567
หมายเหตุ
หมายเหตุ : ปรับปีฐานการคำนวณดัชนีอุตสาหกรรมจากปี 2559 เป็น ปี 2564ปรับปีฐานการคำนวณดัชนีอุตสาหกรรมจากปี 2559 เป็น ปี 2564
สถานการณ์อุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยเดือนกุมภาพันธ์ 2567ยานยนต์ไทยเดือนกุมภาพันธ์ 2567
ที่มา ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ภาพรวมการผลิตเดือน ก.พ. 2567 ลดลง 19.28 %
ภาพรวมการผลิตเดือน ก.พ. 2567 ลดลง 19.28 %YoY สาเหตุหลักเนื่องจากการผลิตเพื่อขายในประเทศ สาเหตุหลักเนื่องจากการผลิตเพื่อขายในประเทศ ซึ่งลดลงร้อยละ 26.37 ขณะที่การผลิตเพื่อส่งออกลดลงร้อยละ 9.25ซึ่งลดลงร้อยละ 26.37 ขณะที่การผลิตเพื่อส่งออกลดลงร้อยละ 9.25
จากข้อมูลตามตารางข้างต้น พบว่า
จากข้อมูลตามตารางข้างต้น พบว่า กลุ่มรถยนต์นั่งที่ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ มีการปรับลดลงประมาณกลุ่มรถยนต์นั่งที่ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ มีการปรับลดลงประมาณร้อยละ 9.6 หรือประมาณ 2,500 คัน ซึ่งอาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น จากการเข้ามาของรถ ร้อยละ 9.6 หรือประมาณ 2,500 คัน ซึ่งอาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น จากการเข้ามาของรถ EV นำเข้าจากจีน หรือนำเข้าจากจีน หรือสภาพเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจ กลุ่มรถกระบะที่ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศกลุ่มรถกระบะที่ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศมีการปรับลดลงอย่างมาก ประมาณร้อยละ 43 มีการปรับลดลงอย่างมาก ประมาณร้อยละ 43 หรือประมาณ 15หรือประมาณ 15,000 คัน ซึ่งเกิดจากไฟแนนซ์มีการปล่อยกู้ที่ยากขึ้น ทั้งนี้ 000 คัน ซึ่งเกิดจากไฟแนนซ์มีการปล่อยกู้ที่ยากขึ้น ทั้งนี้ กลุ่มกระบะกลุ่มกระบะเป็นกลุ่มที่แทบไม่ได้เป็นกลุ่มที่แทบไม่ได้รับรับผลกระทบจากเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าในปัจจุบัน (ช่วงปี 66 กระบะขายได้เฉลี่ยเดือนละ 35ผลกระทบจากเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าในปัจจุบัน (ช่วงปี 66 กระบะขายได้เฉลี่ยเดือนละ 35,000 คัน แต่ปัจจุบันเหลือ000 คัน แต่ปัจจุบันเหลือเดือนละ 18เดือนละ 18,000 คัน)000 คัน)
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม