สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม ปี 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday June 4, 2024 13:18 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

(%YOY)

2566 2567 ประมาณการ

Q2 Q3 Q4 Q1 ปี 2567

GDP +1.8 +1.4 +1.7 N/A 2.2 ? 3.2

GDP อุตสาหกรรม -3.5 -4.4 -2.4 N/A 2.0 ? 3.0

MPI -4.93 -5.25 -2.87 -3.65 2.0 ? 3.0

สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม

การผลิต มี.ค. 2567 ม.ค.-มี.ค. 2567

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม

(MPI, %YOY) -5.13 -3.65

อัตราการใช้กำลังการผลิต

(CAP-U, ร้อยละ) 63.29 60.45

การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th

สอบถามข้อมูล : นางสาวอัมพร สุวรรณรัตน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680614 ดาวน์โหลดข้อมูล

หมายเหตุ : N/A = ไม่ปรากฏข้อมูล

ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2567

ประมาณการ ปี 2567 : GDP โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.

ปี 2567 MPI และ GDP อุตสาหกรรม ประมาณการว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.0 - 3.0 (YOY)

โดยเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มทยอยฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป ส่งผลให้การผลิตรองรับอุปสงค์ในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น

เดือนมีนาคม ปี 2567

? ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการผลิตยานยนต์หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8

กดดันให้การผลิตในภาพรวมปรับตัวลดลงตามไปด้วย

? หนี้ภาคครัวเรือนและอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้บริโภค

ระมัดระวังการจับจ่ายใช้สอย

? ความกังวลต่อปัญหาเชิงภูมิรัฐศาสตร์ ฉุดรั้งให้การลงทุนและ

การค้าโลกฟื้นตัวช้า ฉุดรั้งให้การผลิตไม่สามารถฟื้นตัวได้

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนมีนาคม 2567 หดตัวร้อยละ 5.13 (YOY)

อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนมีนาคม 2567

อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)

การกลั่นน้ำมัน +5.32 %

จากน้ำมันเครื่องบิน ก๊าซหุงต้ม และแก๊สโซฮอล์ 91

เป็นหลัก ตามความต้องการใช้ในการเดินทางที่ขยายตัว

ต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว

สตาร์ชและผลิตภัณฑ์สตาร์ช +47.65 %

จากแป้งมันสำปะหลัง ตามปริมาณหัวมันสดเข้าสู่โรงงาน

มากกว่าปีก่อน ภายหลังปัญหาโรคใบด่างลดลง และมี

การเร่งเก็บเกี่ยวผลผลิตที่มีปริมาณสูงในเดือนนี้

อาหารสัตว์สำเร็จรูป +8.45 %

จากอาหารสัตว์เลี้ยง (สุนัข/แมว) ที่ขยายตัวจากตลาดส่งออก

ด้านอาหารสุกรเพิ่มขึ้นตามปริมาณสุกรเลี้ยงจากเกษตรกรที่มี

มากกว่าปกติ

อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)

ยานยนต์ -22.63 %

จากรถปิคอัพ รถยนต์นั่งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ และ

เครื่องยนต์ดีเซล เนื่องจากตลาดในประเทศกำลังซื้อ

อ่อนแอ และอุปสงค์ในประเทศคู่ค้าชะลอตัว

น้ำตาล -25.26 %

เนื่องจากผลผลิตอ้อยสดในปีนี้มีน้อยกว่าปีก่อนจากภัยแล้ง

และเกษตรกรหมุนเวียนไปปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่ได้ราคา

ดีกว่า เช่น มันสำปะหลัง ฯลฯ

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -15.33%

จาก Integrated Circuit (IC) จากความไม่แน่นอนของ

เศรษฐกิจโลก รวมถึงปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์และสงคราม

การค้า ส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรม

ภาคการท่องเที่ยว

ขยายตัวต่อเนื่อง

ภาคการลงทุนมีแนวโน้ม

ปรับตัวเพิ่มขึ้น

IMF คาดการณ์เศรษฐกิจโลก

ฟื้นตัวกว่าปีก่อน โดยคาดว่า

จะขยายตัวร้อยละ 3.2

ปัจจัยสนับสนุน

ภาวะดอกเบี้ยสูง

หลายภูมิภาคของโลก

ราคาน้ำมันผันผวน

ปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์

หลายพื้นที่

ปัจจัยกดดัน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


แท็ก อุตสาหกรรม   GDP  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ