สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม กุมภาพันธ์ 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday May 16, 2024 13:24 —สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

(%YOY)

2566 ประมาณการ

Q1 Q2 Q3 Q4 2567

GDP 2.6 1.8 1.4 1.7 2.2 - 3.2

GDP การผลิต

อุตสาหกรรม

-2.6 -3.5 -4.4 -2.4 2.0 - 3.0

MPI -2.11 -4.39 -5.25 -2.87 2.0 - 3.0

สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนกุมภาพันธ์ 2567

อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)

การกลั่นน้ำมัน +7.59 %

ตามความต้องการบริโภคในภาคขนส่งและเดินทาง

ท่องเที่ยวที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง

ปุ๋ยเคมี +39.82 %

สินค้าเกษตรมีราคาที่ดี เกษตรกรมีกำลังซื้อ รวมถึง

ราคาปุ๋ยปรับลดลงตามราคาวัตถุดิบแม่ปุ๋ยที่ต่ำกว่าปี

ก่อน และจากการทำโปรโมชั่นกระตุ้นยอดขาย

เครื่องประดับเพชรพลอย +24.56 %

เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าฟื้นตัว ทำให้มีคำสั่งซื้อและ

ส่งออกไปประเทศคู่ค้าสำคัญ เช่น กาตาร์ เบลเยี่ยม

อินเดีย ฮ่องกง เยอรมนี ญี่ปุ่น และสหรัฐฯ ได้มากขึ้น

อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)

ยานยนต์ -16.83 %

ตลาดในประเทศชะลอตัวจากสถาบันการเงินเข้มงวดใน

การให้ปล่อยสินเชื่อ และการส่งออกชะลอตัวจาก

เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าชะลอตัว

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -18.66 %

จาก Integrated circuits (IC) และ PCBA ตามความ

ต้องการสินค้าในตลาดโลกที่ปรับตัวลดลง

น้ำมันปาล์ม -27.23 %

ภัยแล้ง ทำให้ปาล์มดิบลดลงกว่าปีก่อน และอินโดนีเซีย

กลับมาส่งออกอีกครั้ง ทำให้ราคาในตลาดโลกปรับตัว

ลดลง ทำให้หดตัวทั้งตลาดในประเทศและการส่งออก

การผลิต ก.พ. 2567

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม

(MPI, %YOY) -2.84

อัตราการใช้กำลังการผลิต

(CAP-U, ร้อยละ) 59.77

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th

สอบถามข้อมูล : นางสาวดุสิตา เนตรโรจน์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680615 ดาวน์โหลดข้อมูล

ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2567

ประมาณการ 2567 : GDP โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.

ปี 2566 MPI หดตัวร้อยละ 3.78 และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 3.2 (YOY)

ปี 2567 ประมาณการ MPI และ GDP การผลิตอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.0 - 3.0 (YOY)

กุมภาพันธ์ 2567

? การผลิตยานยนต์ลดลง เป็นเดือนที่ 7 โดยหดตัวจากภายในประเทศ

เนื่องด้วยสถาบันการเงินเพิ่มความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อรถยนต์

? หนี้ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้น

ทำให้ต้นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น

? เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้ายังคงชะลอตัว โดยเฉพาะประเทศจีน

? การขยายตัวของภาคการท่องเที่ยวและการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม

หนุนการผลิตรองรับการบริโภคมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นในระยะถัดไป

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนกุมภาพันธ์ 2567 หดตัวร้อยละ 2.84 (YOY)

หนี้ครัวเรือนสูง สถาบันการ

เงินเข้มงวดในการให้สินเชื่อ

เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า

ยังคงชะลอตัว

สภาพภูมิอากาศแปรปรวน

จากปรากฏการณ์เอลนีโญ

ปัจจัยกดดัน

การท่องเที่ยวขยายตัว

ต่อเนื่อง

การส่งออกขยายตัว

ต่อเนื่อง

มาตรการ E-Receipt

ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ

ปัจจัยสนับสนุน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


แท็ก อุตสาหกรรม   GDP  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ