(%YOY)
2566 2567 ประมาณการ
Q3 Q4 Q1 Q2 2567
GDP +1.4 +1.7 +1.6 +2.3 2.3 - 2.8
GDP
อุตสาหกรรม
-4.4 -2.4 -2.9 +0.2 (-0.5) - 0.5
MPI -5.25 -2.88 -3.58 -0.27 (-1.0) - 0.0
สถานการณ์การผลิตภาคอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อ MPI เดือนสิงหาคม 2567
อุตสาหกรรมที่ส่งผลบวก (YOY)
ปลาทูน่ากระป๋อง +41.61 %
จากปลาทูน่ากระป๋อง เนื่องจากราคาวัตถุดิบปลาทูน่า
ปรับตัวลดลง โดยตลาดส่งออกขยายตัวตามคำสั่งซื้อ
จากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และออสเตรเลีย
อาหารสัตว์เลี้ยงสำเร็จรูป +9.40 %
จากอาหารสัตว์เลี้ยงสำเร็จรูป ตามคำสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นจาก
สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ และแคนาดา ในขณะที่
อาหารไก่สำเร็จรูปขยายตัวจากการเลี้ยงไก่เพิ่มขึ้น
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ +18.84 %
จาก Hard Disk Drive เป็นหลัก ตามความต้องการ
ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการสินค้าทดแทน
สินค้าเดิมที่หมดประกันและครบอายุการใช้งาน
อุตสาหกรรมที่ส่งผลลบ (YOY)
ยานยนต์ -18.44 %
จากอุปสงค์ในประเทศที่ลดลง จากภาวะเศรษฐกิจ
ฟื้นตัวช้า หนี้ครัวเรือนสูง ผู้บริโภคมีกำลังซื้อลดลง
และสถาบันการเงินยังคงเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อ
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ -11.84 %
จาก Integrated Circuits (IC) เป็นหลัก ตามการชะลอตัว
ของตลาดอิเล็กทรอนิกส์โลกที่ยังฟื้นตัวช้ากว่าสินค้า
เซมิคอนดักเตอร์ในกลุ่มอื่น ๆ
ผลิตภัณฑ์คอนกรีต -13.54 %
จากเสาเข็มคอนกรีตและพื้นสำเร็จรูปคอนกรีต เป็นหลัก
ตามการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ และ
ผลกระทบจากน้ำท่วมบางพื้นที่
การผลิต ส.ค. 2567 ม.ค.-ส.ค. 2567
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
(MPI, %YOY) -1.91 -1.55
อัตราการใช้กำลังการผลิต
(CAP-U, ร้อยละ) 58.30 58.96
จัดทำโดย : กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) www.oie.go.th
สอบถามข้อมูล : นายนเรศ กิจจาพัฒนพันธ์ โทร. 0 2430 6806 ต่อ 680613 ดาวน์โหลดข้อมูล
ที่มา : GDP โดย สศช., MPI โดย สศอ. ข้อมูล ณ เดือนกันยาคม 2567
ประมาณการ 2566-2567 : GDP โดย สศช., GDP อุตสาหกรรม, MPI โดย สศอ.
ปี 2567 ประมาณการ MPI จะหดตัวร้อยละ 1.0 - 0.0 และ GDP อุตสาหกรรม จะหดตัวร้อยละ 0.5 - ขยายตัวร้อยละ 0.5
โดยปัจจัยหนุนจากการท่องเที่ยวและการส่งออกที่ขยายตัว จากเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่ทยอยฟื้นตัว รวมถึง
การเร่งเบิกจ่ายงบประมาณปี 2567 มาตรการของภาครัฐที่คาดว่าจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจและการบริโภคในประเทศ
สิงหาคม 2567
? การผลิตยานยนต์ลดลง เป็นเดือนที่ 13 โดยหดตัวจากภายในประเทศ
เนื่องจากกำลังซื้อที่ลดลง จากปัญหาหนี้ครัวเรือนและสถาบันการเงิน
ยังคงเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ
? ต้นทุนของผู้ผลิตเพิ่มขึ้น จากราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
อยู่ในระดับสูง และราคาน้ำมันดีเซลที่ปรับตัวสูงขึ้น
? การนำเข้าสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศ ผู้บริโภคมีแนวโน้มเลือกซื้อ
สินค้านำเข้ามากขึ้น เนื่องจากราคาถูกกว่า
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนสิงหาคม 2567 หดตัวร้อยละ 1.91 (YOY)
หนี้สินครัวเรือนและธุรกิจสูง
การนำเข้าสินค้าราคาถูกจาก
ต่างประเทศ
ราคาพลังงานมีระดับสูง
ภาวะดอกเบื้ยสูง
ปัจจัยกดดัน
การท่องเที่ยวขยายตัว
ต่อเนื่อง
มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ของภาครัฐ
คำขอรับการส่งเสริมการ
ลงทุนเพิ่มขึ้น
ปัจจัยส นับสนุน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม