การผลิตและการจำหน่าย
การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและของที่เกี่ยวข้องกัน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 (ดูตารางที่ 1 ประกอบ) เมื่อพิจารณาจากดัชนี
อุตสาหกรรมเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน ดัชนีการผลิตและดัชนีการจำหน่ายลดลงร้อยละ 17.97 และ 17.49 และดัชนีสินค้า
สำเร็จรูป คงคลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.53 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน แต่ดัชนีการผลิตและดัชนีการจำหน่าย เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.83 และ 2.94 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 5.55 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
การตลาด
การส่งออก
ในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2551 (ดูตารางที่ 2 ประกอบ) ไทยส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1,913.46 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.50 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 85.10 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลจากการส่งออกอัญมณี
ที่มีมูลค่า 459.27 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเป็นผลจากการส่งออกทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่มีมูลค่า 653.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
1. อัญมณี ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 459.27 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.49 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 48.41 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง อิสราเอล และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
25.52, 18.43 และ 13.62 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์อัญมณีที่สำคัญมีดังนี้
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 291.40 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.27 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.57 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ อิสราเอล ฮ่องกง และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
28.80, 21.23และ 21.06 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 163.81 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 77.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 83.68 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา และสวิตเซอร์แลนด์ คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 31.60, 22.66 และ 18.78 ตามลำดับ
2. เครื่องประดับแท้ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 707.24 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 10.48 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 92.79 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และสวิตเซอร์แลนด์คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 25.90, 14.05 และ 10.78 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์เครื่องประดับแท้ที่สำคัญ มีดังนี้
2.1 ทำด้วยเงิน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 189.23 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 29.20 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.75 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และเดนมาร์ก คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 37.54, 9.95 และ 9.66 ตามลำดับ
2.2 ทำด้วยทอง ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 484.77 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.63 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 160.63 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และสวิตเซอร์แลนด์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 21.45, 19.21 และ
15.19 ตามลำดับ
3. เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 43.22ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.35 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 0.58 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 49.89, 19.19 และ 7.42 ตามลำดับ
4. อัญมณีสังเคราะห์ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 15.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 71.35 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.66 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง ออสเตรีย และอินเดีย คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 36.46, 13.55 และ 6.84 ตามลำดับ
5. ทองคำที่ยังไม่ได้ขึ้นรูป ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 653.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.18 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 137.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ออสเตรเลีย ฮ่องกง และสวิตเซอร์แลนด์
คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 47.82, 31.82 และ 16.30 ตามลำดับ
การนำเข้า
1. เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 (ดูตารางที่ 3 ประกอบ) มีมูลค่าการนำเข้า 1,568.73
ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 66.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนและเพิ่มขึ้นร้อยละ 73.60 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน วัตถุดิบสำคัญ
ได้แก่
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 443.70 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.15 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.85 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 23.76, 21.05 และ 14.96 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 94.16 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 69.23 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.33 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง อินเดีย และสหรัฐอเมริกา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
18.38, 13.94 และ 13.16 ตามลำดับ
1.3 ทองคำ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 820.39 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 177.26 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 151.93 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย และฮ่องกง คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 30.74, 18.72 และ 15.41 ตามลำดับ
1.4 เงิน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 117.11 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 22.43 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.65 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ฮ่องกง และเกาหลีใต้ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 52.34,
15.45 และ 13.10 ตามลำดับ
1.5 โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 63.46 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.55 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.46 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น เยอรมนี และฮ่องกง คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 92.05, 3.12 และ 2.26 ตามลำดับ โดยการนำเข้าเพชร พลอย ทองคำ เงิน โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 98.09
ของการนำเข้าวัตถุดิบทั้งหมด
2. เครื่องประดับอัญมณี ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าทั้งสิ้น 205.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 150.66 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 288.54 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
2.1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 199.90ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 162.10 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 315.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อิตาลี ฮ่องกง และสหรัฐอเมริกา คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 4.49, 4.41 และ 2.95 ตามลำดับ
2.2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 5.64ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.57 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.53 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส และออสเตรีย คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 34.33, 14.86 และ 11.47 ตามลำดับ
สรุปและแนวโน้ม
ภาพรวมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 ด้านการผลิตหดตัวลดลงร้อยละ 17.97 และการจำหน่ายหดตัวลด
ลงร้อยละ 17.49 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ด้านการส่งออกมีการขยายตัวสูงขึ้นเล็กน้อยคือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.50 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน อัญมณี
โดยสินค้าในกลุ่มนี้ ได้แก่ พลอยเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่มีผลต่อมูลค่าการส่งออกในทางบวก คือ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 77.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และขยายตัวร้อยละ 83.68 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้เครื่องประดับแท้มีสัดส่วนการส่งออกสูงถึงร้อยละ 36.96 ส่วนอัญมณีมีสัดส่วนการ
ส่งออกร้อยละ 24.00 เมื่อเทียบกับการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับทั้งหมด โดยไม่นับรวมทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่เป็นสินค้าวัตถุดิบ ส่วนการนำเข้า
สินค้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบในไตรมาสนี้เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 66.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา และเพิ่มขึ้นร้อยละ 73.60 เมื่อเทียบกับช่วงเดียว
กันของปีก่อน
แนวโน้มภาพรวมการส่งออกในไตรมาสที่ 2 ปี 2552 จากการที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เปิดเผยรายงานแนวโน้ม
เศรษฐกิจโลกล่าสุดว่า เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา จะเข้าสู่ภาวะถดถอยในปีนี้ และมีโอกาสที่การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจะลดมาอยู่ที่ร้อยละ 3.0 หรือ
ต่ำกว่านั้น ซึ่งเป็นระดับที่จะได้รับการพิจารณาว่าเป็นภาวะเศรษฐกิจถดถอย และสหรัฐอเมริกามีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายใน
ประเทศ แต่กระนั้นจะส่งผลต่อการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เนื่องจากเงินทุนจะไหลจากที่ที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำไปสู่ที่ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า จะ
เป็นสาเหตุส่วนหนึ่งที่ทำให้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นไปอีก อันจะส่งผลต่อมูลค่าการส่งออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับในทางลบ ดังนั้นผู้ประกอบ
การไทยควรใช้กลยุทธ์ การหาตลาดใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ เช่น แถบตะวันออกกลาง ที่ขณะนี้มีรายได้สูงจากการจำหน่ายน้ำมันดิบ หรือการทำให้สินค้าเป็นที่
ต้องการของตลาดซึ่งจะส่งผลทำให้จำหน่ายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น เป็นต้น ซึ่งทั้งสองกลยุทธ์นี้ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าการส่งออกได้อีก อย่างไรก็ตาม นอกจาก
ปัจจัยดังกล่าวข้างต้นแล้ว ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจะเป็นปัจจัยลบทำให้เศรษฐกิจโลกหดตัวลง ดังนั้น ผู้ประกอบการต้องใช้
ความพยายามอย่างมากในการเจาะตลาดที่มีกำลังซื้อ จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้นคาดว่าแนวโน้มการส่งออกในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 จะหดตัวลง
ตารางที่ 1 การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q1(51)/ Q1(51)/
Q4(50) Q1(50)
ผลผลิต 69 56.7 74.2 84.9 69.6 -18 0.83
ส่งสินค้า 69.7 59.7 78.7 86.9 71.7 -17.5 2.94
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 98.9 98.3 97.8 92 93.5 1.53 -5.55
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ย ปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
ตารางที่ 2 มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว (%)
2550 2551 Q1(51) เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q4(50) Q1(50)
อัญมณีและเครื่องประดับ 1033.77 856.94 1606.61 1885.18 1,913.46 1.5 85.1
1 อัญมณี 309.5 293.5 383.6 349.3 459.3 31.49 48.41
(1) เพชร 218.17 219.29 260.4 252.79 291.4 15.27 33.57
(2) พลอย 89.18 73.06 116.6 92.53 163.81 77.03 83.68
(3) ไข่มุก 2.12 1.15 6.61 3.97 4.06 2.27 91.51
2 เครื่องประดับแท้ 366.8 395.6 555.2 790 707.2 -10.5 92.79
(1) ทำด้วยเงิน 152.91 175.09 191.54 267.28 189.23 -29.2 23.75
(2) ทำด้วยทอง 186 192.96 343.06 492.81 484.77 -1.63 160.63
(3) ทำด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 27.93 27.57 20.57 29.94 33.24 11.02 19.01
3 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 43.47 42.05 49.1 44.72 43.22 -3.35 -0.58
4 อัญมณีสังเคราะห์ 12.35 12.3 24.45 55.46 15.89 -71.4 28.66
5 ทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูป 274.6 80.02 560.4 598.4 653.3 9.18 137.9
6 โลหะมีค่าและของที่หุ้มด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 27.07 33.45 33.91 47.33 34.54 -27 27.6
ตารางที่ 3 มูลค่าการนำเข้าเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว : (%)
2550 2551 Q1 (51)เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q4(50) Q1(50)
เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 903.7 1145.6 1123.5 944.9 1,568.73 66.03 73.6
1 เพชร 339.1 320.05 393.35 349 443.7 27.15 30.85
2 พลอย 63.91 42.04 63.66 55.64 94.16 69.23 47.33
3 อัญมณีสังเคราะห์ 7.57 14.63 19.03 20.48 17.94 -12.4 137
4 ไข่มุก 6.24 2.97 6 4.63 5.67 22.46 -9.13
5 ทองคำ 325.6 568.34 446.43 295.9 820.39 177.3 151.9
6 เงิน 104 134.21 120.26 151 117.11 -22.43 12.65
7 แพลทินัม 5.87 4.72 6.65 5.81 6.3 8.43 7.33
8 โลหะมีค่า และโลหะอื่น ๆ 51.4 58.63 68.14 62.49 63.46 1.55 23.46
เครื่องประดับอัญมณี 52.9 60.22 60.03 82 205.54 150.7 288.5
1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ 48.06 54.82 54.31 76.27 199.9 162.1 315.9
2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 4.84 5.4 5.72 5.73 5.64 -1.57 16.53
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและของที่เกี่ยวข้องกัน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 (ดูตารางที่ 1 ประกอบ) เมื่อพิจารณาจากดัชนี
อุตสาหกรรมเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน ดัชนีการผลิตและดัชนีการจำหน่ายลดลงร้อยละ 17.97 และ 17.49 และดัชนีสินค้า
สำเร็จรูป คงคลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.53 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน แต่ดัชนีการผลิตและดัชนีการจำหน่าย เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.83 และ 2.94 และดัชนี
สินค้าสำเร็จรูปคงคลังลดลงร้อยละ 5.55 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
การตลาด
การส่งออก
ในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2551 (ดูตารางที่ 2 ประกอบ) ไทยส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1,913.46 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.50 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 85.10 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลจากการส่งออกอัญมณี
ที่มีมูลค่า 459.27 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเป็นผลจากการส่งออกทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่มีมูลค่า 653.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
1. อัญมณี ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 459.27 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.49 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 48.41 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง อิสราเอล และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
25.52, 18.43 และ 13.62 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์อัญมณีที่สำคัญมีดังนี้
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 291.40 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.27 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.57 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ อิสราเอล ฮ่องกง และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
28.80, 21.23และ 21.06 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 163.81 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 77.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 83.68 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา และสวิตเซอร์แลนด์ คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 31.60, 22.66 และ 18.78 ตามลำดับ
2. เครื่องประดับแท้ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 707.24 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 10.48 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 92.79 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และสวิตเซอร์แลนด์คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 25.90, 14.05 และ 10.78 ตามลำดับ ซึ่งผลิตภัณฑ์เครื่องประดับแท้ที่สำคัญ มีดังนี้
2.1 ทำด้วยเงิน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 189.23 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 29.20 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.75 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และเดนมาร์ก คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 37.54, 9.95 และ 9.66 ตามลำดับ
2.2 ทำด้วยทอง ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 484.77 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.63 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 160.63 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และสวิตเซอร์แลนด์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 21.45, 19.21 และ
15.19 ตามลำดับ
3. เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 43.22ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.35 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 0.58 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 49.89, 19.19 และ 7.42 ตามลำดับ
4. อัญมณีสังเคราะห์ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 15.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 71.35 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.66 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง ออสเตรีย และอินเดีย คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 36.46, 13.55 และ 6.84 ตามลำดับ
5. ทองคำที่ยังไม่ได้ขึ้นรูป ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 653.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.18 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 137.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดส่งออกสำคัญ ได้แก่ ออสเตรเลีย ฮ่องกง และสวิตเซอร์แลนด์
คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 47.82, 31.82 และ 16.30 ตามลำดับ
การนำเข้า
1. เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 (ดูตารางที่ 3 ประกอบ) มีมูลค่าการนำเข้า 1,568.73
ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 66.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนและเพิ่มขึ้นร้อยละ 73.60 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน วัตถุดิบสำคัญ
ได้แก่
1.1 เพชร ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 443.70 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.15 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.85 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อินเดีย อิสราเอล และเบลเยี่ยม คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 23.76, 21.05 และ 14.96 ตามลำดับ
1.2 พลอย ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 94.16 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 69.23 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.33 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง อินเดีย และสหรัฐอเมริกา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
18.38, 13.94 และ 13.16 ตามลำดับ
1.3 ทองคำ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 820.39 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 177.26 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 151.93 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย และฮ่องกง คิดเป็นสัด
ส่วนร้อยละ 30.74, 18.72 และ 15.41 ตามลำดับ
1.4 เงิน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 117.11 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 22.43 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.65 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ฮ่องกง และเกาหลีใต้ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 52.34,
15.45 และ 13.10 ตามลำดับ
1.5 โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 63.46 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.55 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.46 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น เยอรมนี และฮ่องกง คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 92.05, 3.12 และ 2.26 ตามลำดับ โดยการนำเข้าเพชร พลอย ทองคำ เงิน โลหะมีค่าและโลหะอื่นๆ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 98.09
ของการนำเข้าวัตถุดิบทั้งหมด
2. เครื่องประดับอัญมณี ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าทั้งสิ้น 205.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 150.66 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 288.54 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ผลิตภัณฑ์สำคัญๆ ได้แก่
2.1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 199.90ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 162.10 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 315.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ อิตาลี ฮ่องกง และสหรัฐอเมริกา คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 4.49, 4.41 และ 2.95 ตามลำดับ
2.2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม ในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 มีมูลค่าการนำเข้า 5.64ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.57 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.53 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส และออสเตรีย คิดเป็นสัดส่วนร้อย
ละ 34.33, 14.86 และ 11.47 ตามลำดับ
สรุปและแนวโน้ม
ภาพรวมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับในไตรมาสที่ 1 ปี 2551 ด้านการผลิตหดตัวลดลงร้อยละ 17.97 และการจำหน่ายหดตัวลด
ลงร้อยละ 17.49 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ด้านการส่งออกมีการขยายตัวสูงขึ้นเล็กน้อยคือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.50 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน อัญมณี
โดยสินค้าในกลุ่มนี้ ได้แก่ พลอยเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่มีผลต่อมูลค่าการส่งออกในทางบวก คือ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 77.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และขยายตัวร้อยละ 83.68 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้เครื่องประดับแท้มีสัดส่วนการส่งออกสูงถึงร้อยละ 36.96 ส่วนอัญมณีมีสัดส่วนการ
ส่งออกร้อยละ 24.00 เมื่อเทียบกับการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับทั้งหมด โดยไม่นับรวมทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูปที่เป็นสินค้าวัตถุดิบ ส่วนการนำเข้า
สินค้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบในไตรมาสนี้เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 66.03 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผ่านมา และเพิ่มขึ้นร้อยละ 73.60 เมื่อเทียบกับช่วงเดียว
กันของปีก่อน
แนวโน้มภาพรวมการส่งออกในไตรมาสที่ 2 ปี 2552 จากการที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เปิดเผยรายงานแนวโน้ม
เศรษฐกิจโลกล่าสุดว่า เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา จะเข้าสู่ภาวะถดถอยในปีนี้ และมีโอกาสที่การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจะลดมาอยู่ที่ร้อยละ 3.0 หรือ
ต่ำกว่านั้น ซึ่งเป็นระดับที่จะได้รับการพิจารณาว่าเป็นภาวะเศรษฐกิจถดถอย และสหรัฐอเมริกามีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายใน
ประเทศ แต่กระนั้นจะส่งผลต่อการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เนื่องจากเงินทุนจะไหลจากที่ที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำไปสู่ที่ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า จะ
เป็นสาเหตุส่วนหนึ่งที่ทำให้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นไปอีก อันจะส่งผลต่อมูลค่าการส่งออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับในทางลบ ดังนั้นผู้ประกอบ
การไทยควรใช้กลยุทธ์ การหาตลาดใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ เช่น แถบตะวันออกกลาง ที่ขณะนี้มีรายได้สูงจากการจำหน่ายน้ำมันดิบ หรือการทำให้สินค้าเป็นที่
ต้องการของตลาดซึ่งจะส่งผลทำให้จำหน่ายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น เป็นต้น ซึ่งทั้งสองกลยุทธ์นี้ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าการส่งออกได้อีก อย่างไรก็ตาม นอกจาก
ปัจจัยดังกล่าวข้างต้นแล้ว ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจะเป็นปัจจัยลบทำให้เศรษฐกิจโลกหดตัวลง ดังนั้น ผู้ประกอบการต้องใช้
ความพยายามอย่างมากในการเจาะตลาดที่มีกำลังซื้อ จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้นคาดว่าแนวโน้มการส่งออกในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 จะหดตัวลง
ตารางที่ 1 การผลิตเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ และของที่เกี่ยวข้องกัน
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q1(51)/ Q1(51)/
Q4(50) Q1(50)
ผลผลิต 69 56.7 74.2 84.9 69.6 -18 0.83
ส่งสินค้า 69.7 59.7 78.7 86.9 71.7 -17.5 2.94
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 98.9 98.3 97.8 92 93.5 1.53 -5.55
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ย ปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
ตารางที่ 2 มูลค่าการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว (%)
2550 2551 Q1(51) เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q4(50) Q1(50)
อัญมณีและเครื่องประดับ 1033.77 856.94 1606.61 1885.18 1,913.46 1.5 85.1
1 อัญมณี 309.5 293.5 383.6 349.3 459.3 31.49 48.41
(1) เพชร 218.17 219.29 260.4 252.79 291.4 15.27 33.57
(2) พลอย 89.18 73.06 116.6 92.53 163.81 77.03 83.68
(3) ไข่มุก 2.12 1.15 6.61 3.97 4.06 2.27 91.51
2 เครื่องประดับแท้ 366.8 395.6 555.2 790 707.2 -10.5 92.79
(1) ทำด้วยเงิน 152.91 175.09 191.54 267.28 189.23 -29.2 23.75
(2) ทำด้วยทอง 186 192.96 343.06 492.81 484.77 -1.63 160.63
(3) ทำด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 27.93 27.57 20.57 29.94 33.24 11.02 19.01
3 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 43.47 42.05 49.1 44.72 43.22 -3.35 -0.58
4 อัญมณีสังเคราะห์ 12.35 12.3 24.45 55.46 15.89 -71.4 28.66
5 ทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูป 274.6 80.02 560.4 598.4 653.3 9.18 137.9
6 โลหะมีค่าและของที่หุ้มด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 27.07 33.45 33.91 47.33 34.54 -27 27.6
ตารางที่ 3 มูลค่าการนำเข้าเครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว : (%)
2550 2551 Q1 (51)เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q4(50) Q1(50)
เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 903.7 1145.6 1123.5 944.9 1,568.73 66.03 73.6
1 เพชร 339.1 320.05 393.35 349 443.7 27.15 30.85
2 พลอย 63.91 42.04 63.66 55.64 94.16 69.23 47.33
3 อัญมณีสังเคราะห์ 7.57 14.63 19.03 20.48 17.94 -12.4 137
4 ไข่มุก 6.24 2.97 6 4.63 5.67 22.46 -9.13
5 ทองคำ 325.6 568.34 446.43 295.9 820.39 177.3 151.9
6 เงิน 104 134.21 120.26 151 117.11 -22.43 12.65
7 แพลทินัม 5.87 4.72 6.65 5.81 6.3 8.43 7.33
8 โลหะมีค่า และโลหะอื่น ๆ 51.4 58.63 68.14 62.49 63.46 1.55 23.46
เครื่องประดับอัญมณี 52.9 60.22 60.03 82 205.54 150.7 288.5
1 เครื่องประดับอัญมณีแท้ 48.06 54.82 54.31 76.27 199.9 162.1 315.9
2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 4.84 5.4 5.72 5.73 5.64 -1.57 16.53
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-