1. การผลิต
การผลิตเส้นใยสิ่งทอรวมทั้งการทอสิ่งทอในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 เมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม การผลิตปรับตัวลดลงร้อยละ
3.6 และ 4.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนและไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีการนำเข้าเส้นใยฯ และเส้นด้ายมากขึ้น ผลจากต้นทุนนำเข้าที่มี
แนวโน้มลดลงตามปัจจัยเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น และจะเป็นปัจจัยหนุนต่อการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศในช่วงครึ่งปีหลัง
สำหรับการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป ทั้งที่ผลิตจากผ้าถักและผลิตจากผ้าทอ ในไตรมาสที่ 2 การผลิตลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนร้อยละ
8.7 และ 3.0 ตามลำดับ แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ผลิตจากผ้าถัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และเสื้อผ้า
สำเร็จรูปที่ผลิตจากผ้าทอ มีการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 ถึงแม้ว่าจะต้องเผชิญปัญหาราคาสินค้าที่ทยอยปรับสูงขึ้นตามปัจจัยราคาน้ำมัน ภาวะเงินเฟ้อ
รวมทั้งภาคการบริโภคของประชาชน ล้วนกระทบต่อการค้าและการลงทุน แต่อย่างไรก็ตามการผลิตสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อส่งออกในตลาดอา
เซียนและตลาดสหภาพยุโรปในไตรมาสนี้ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
2. การส่งออก
การส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 1,832.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 1,742.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยจำแนก
ผลิตภัณฑ์ที่สำคัญ ๆ ดังนี้
2.1 สื้อผ้าสำเร็จรูป ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 755.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 717.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นใน
ตลาดสหภาพยุโรป และ ตลาดอาเซียน โดยเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ผลิตจากฝ้ายมีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุดถึงร้อยละ 42.6 ของการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จ
รูปทั้งหมด
2.2 ผ้าผืน ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 298.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทรงตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 2.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
2.3 ด้ายและด้ายเส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 211.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ
0.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 209.5 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ
2.4 เส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 146.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน มีมูลค่าการส่งออก 129.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
3. ตลาดส่งออก
ตลาดส่งออกที่สำคัญหลักๆ ของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีดังนี้
สหรัฐอเมริกา ยังคงเป็นตลาดส่งออกสิ่งทอหลักของไทย ซึ่งการส่งออกสิ่งทอของไทยไปสหรัฐอเมริกา ในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มี
มูลค่า 462.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสัด
ส่วนการส่งออกสิ่งทอและ เครื่องนุ่งห่มของไทยส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกาคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.2 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมดของไทย สินค้าที่ส่ง
ออกส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องยกทรงฯ และ เคหะสิ่งทอ ตามลำดับ
สหภาพยุโรป ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 345.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.8 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าผืน เครื่องยกทรง รัดทรงและส่วนประกอบ เป็นต้น
อาเซียน ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 264.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 18.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 14.4 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผ้า
ผืน เส้นใยประดิษฐ์ ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ และสิ่งทออื่นๆ เป็นต้น
ญี่ปุ่น ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 124.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 40.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.8 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด โดยสินค้าส่งออกของไทยส่วนใหญ่เป็น
กลุ่มของเสื้อผ้าสำเร็จรูป
4. การนำเข้า
การนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต เช่น เส้นใยฯ เส้นด้ายฯ
ผ้าผืน และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ (ร้อยละ 92.8) และเสื้อผ้าสำเร็จรูป (ร้อยละ 7.2)
4.1 สิ่งทอ มีมูลค่าการนำเข้าสิ่งทอ (เส้นใยฯ เส้นด้ายฯ ผ้าผืน และ ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ) รวมทั้งสิ้น 895.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนการนำเข้าสูงถึงร้อยละ
92.8 ของมูลค่าการนำเข้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มโดยรวม ผลิตภัณฑ์สำคัญที่นำเข้ามี ดังนี้
4.1.1 เส้นใยที่ใช้ในการทอ มีมูลค่านำเข้า 239.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำ
เข้า 232.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อินเดีย
และออสเตรเลีย มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 37.1, 9.9 และ 9.7 ตามลำดับ
4.1.2 ด้ายทอผ้าฯ มีมูลค่านำเข้า 155.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 146.2
ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีสัดส่วนนำ
เข้าร้อยละ 24.9, 14.8, และ 10.7 ตามลำดับ
4.1.3 ผ้าผืน มีมูลค่านำเข้า 411.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 372.5 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ จีน ไต้หวัน และญี่ปุ่น สัดส่วนการนำเข้า
ร้อยละ 43.8,15.0 และ 8.0 ตามลำดับ
4.1.4 ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ มีมูลค่านำเข้า 57.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
59.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ สัด
ส่วนการนำเข้าร้อยละ 28.2, 16.9 และ 5.0 ตามลำดับ
4.2 เสื้อผ้าสำเร็จรูป มีมูลค่านำเข้าทั้งสิ้น 69.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
70.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.2 ของการนำเข้าสิ่งทอและเครื่อง
นุ่งห่มทั้งหมด ตลาดนำเข้าหลักคือ จีน ฮ่องกง และอิตาลี สัดส่วนร้อยละ 52.6, 9.2 และ 3.2 ตามลำดับ
5. สรุปและแนวโน้ม
ในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มได้รับผลกระทบอย่างมากจากปัจจัยลบหลายประการที่มากระทบ ทั้งภาคการ
ผลิตและการส่งออก อาทิ ราคาสินค้าที่ทยอยปรับเพิ่มขึ้น ปัญหาเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ล้วนกระทบต่อการบริโภคของประชาชน แต่
อาจจะไม่กระทบต่ออุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทยมากนัก เนื่องจากภาคการส่งออกของอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 ขยายตัวเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 5.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน หรือมีมูลค่าการส่งออก 1,832.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และร้อยละ 5.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี
ก่อน โดยผลิตภัณฑ์ส่งออกหลักที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ถุงเท้าและถุงน่อง ถุงมือผ้า ด้ายเส้นใยประดิษฐ์ เคหะสิ่งทอ เส้นใยประดิษฐ์ เป็นต้น
ซึ่งปัจจุบันสิ่งทอไทยการส่งออกยังขยายตัวในตลาดสหภาพยุโรป และอาเซียน ร้อยละ 15.1 และ 11.8 ตามลำดับ
สำหรับแนวโน้มในไตรมาสที่ 3 ปี 2551 คาดว่าอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มจะขยายตัวทั้งภาคการผลิต การนำเข้า และการส่ง
ออก แม้ว่าไทยจะประสบปัญหาเศรษฐกิจซบเซา ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ยังมีการนำเข้าเสื้อผ้าสำเร็จรูปราคาถูกจากประเทศที่มีต้นทุนการผลิตต่ำอย่างจีน
ลาว และกัมพูชา เพื่อรองรับกลุ่มผู้ซื้อที่มีกำลังซื้อจำกัด แต่ในระยะยาวมูลค่าการนำเข้าเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่เพิ่มขึ้น จะส่งผลเสียต่อผู้ประกอบการใน
ประเทศ ที่ไม่สามารถแข่งขันได้และต้องเลิกกิจการ ทั้งนี้ผู้ประกอบการควรปรับปรุงคุณภาพและรูปแบบสินค้าให้สอดคล้องกับแฟชั่นและความนิยมของผู้
บริโภค อีกทั้งปรับลดต้นทุนการผลิตเพื่อการลดความสูญเสียของวัตถุดิบจากกระบวนการผลิต
ตารางที่ 1 ดัชนีการผลิตเส้นใยสิ่งทอรวมทั้งการทอสิ่งทอ
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
ผลผลิต 78.1 73.5 75.9 72.4 72.6 70 -3.6 -4.7
การส่งสินค้า 80 76.8 76.9 77.1 78.9 72.2 -8.5 -5.9
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 169 170 175 172 158 159 0.2 -6.8
ตารางที่ 2 ดัชนีการผลิตผ้าที่ได้จากการถักนิตติ้งและโครเชท์
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
ผลผลิต 145 125 123 159 156 142 -8.7 13.4
การส่งสินค้า 98.7 105 93.5 105 99.8 98.9 -0.9 -6.2
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 115 108 118 133 123 111 -10.3 2.6
ตารางที่ 3 ดัชนีการผลิตเครื่องแต่งกายยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ผลิตจากขนสัตว์
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q4/50 Q2/50
ผลผลิต 151 149 159 160 163 158 -3 6
การส่งสินค้า 126 140 142 137 135 145 7.3 3.1
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 262 245 245 270 331 340 2.8 38.7
ที่มา : ตารางที่ 1-3 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : * เป็นตัวเลขเบื้องต้น
มูลค่าการส่งออกสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ปี 2549-2551 แยกรายไตรมาส
ชื่อสินค้า มูลค่า : ล้านเหรียญฯ อัตราขยายตัว (%)
2550 2551 Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
สิ่งทอ 1,643.30 1,733.70 1,816.50 1,782.20 1,742.20 1,832.40 5.2 5.9
1 เครื่องนุ่งห่ม 800.4 841.3 890.4 840.8 819.3 858.7 4.8 2.2
(1) เสื้อผ้าสำเร็จรูป 711.8 749.5 791.6 738.9 717.6 755.8 5.3 1
(2) เครื่องยกทรง รัดทรงฯ 71.1 76.5 79.5 82.4 83.4 83.3 -0.1 9
(3) ถุงเท้าและถุงน่อง 15 12.7 16.2 16.3 14.7 15.9 7.8 24.6
(4) ถุงมือผ้า 2.5 2.5 3.1 3.2 3.5 3.4 6.1 50.1
2 ผ้าผืนและด้าย 479.1 501.4 510.9 515.9 508.7 509.9 0.2 1.9
(1) ผ้าผืน 284.5 291.2 287.3 300.2 298.2 298.2 0 2.5
(2) ด้ายและเส้นใยฯ 194.5 210.3 223.6 215.7 210.5 211.7 0.6 1
3 เคหะสิ่งทอ 74 79.3 88.5 91.5 86.6 88 1.6 11.8
4 เส้นใยประดิษฐ์ 115.3 129.5 135.4 139.7 137.2 146.9 7.1 13.2
5 ผ้าปักและผ้าลูกไม้ 30.3 31.7 36.3 36.6 30.3 40.1 32.2 26.3
6 ตาข่ายจับปลา 18.3 21.4 22 19.7 21.5 34 57.8 58.6
7 ผ้าคลุมไหล่ ผ้าพันคอ 1.5 2 2 2.4 1.6 2.3 42 15.6
8 ผ้าแบบสำหรับตัดเสื้อฯ 9.7 11.7 9.8 12.8 11.6 13.8 18.8 18.7
9 สิ่งทออื่นๆ 114.7 115.5 121.3 122.7 125.4 138.8 10.7 20.2
มูลค่าการนำเข้าสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ปี 2550-2551 แยกรายไตรมาส
ชื่อสินค้า มูลค่า : ล้านเหรียญฯ อัตราขยายตัว (%)
2550 2551 Q2/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
1 เครื่องจักรสิ่งทอ 96 98.7 68.6 81.1 81.7 83.7 2.4 -15.2
2 ด้ายและเส้นใย 312.6 311.7 314.3 316.1 407.7 426.1 4.5 36.7
- เส้นใยใช้ในการทอ 187.1 163.2 156.7 173.3 232.2 239.9 3.3 47
- ด้ายทอผ้าและด้ายเส้นเล็ก 101.2 122.4 129.6 115.2 146.2 155.3 6.2 26.8
- วัตถุทออื่น ๆ 24.4 26.1 28 27.5 29.3 30.9 5.3 18.4
3 ผ้าผืน 310.1 383.5 353 391.3 372.5 411.9 10.6 7.4
4 ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ 39.9 44.8 44.7 55.8 59.6 57.6 -1.7 17.2
5 เสื้อผ้าสำเร็จรูป 57.8 58.9 65.1 66.9 70.2 69.1 -3.4 28.6
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
การผลิตเส้นใยสิ่งทอรวมทั้งการทอสิ่งทอในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 เมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม การผลิตปรับตัวลดลงร้อยละ
3.6 และ 4.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนและไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีการนำเข้าเส้นใยฯ และเส้นด้ายมากขึ้น ผลจากต้นทุนนำเข้าที่มี
แนวโน้มลดลงตามปัจจัยเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น และจะเป็นปัจจัยหนุนต่อการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศในช่วงครึ่งปีหลัง
สำหรับการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป ทั้งที่ผลิตจากผ้าถักและผลิตจากผ้าทอ ในไตรมาสที่ 2 การผลิตลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนร้อยละ
8.7 และ 3.0 ตามลำดับ แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ผลิตจากผ้าถัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และเสื้อผ้า
สำเร็จรูปที่ผลิตจากผ้าทอ มีการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 ถึงแม้ว่าจะต้องเผชิญปัญหาราคาสินค้าที่ทยอยปรับสูงขึ้นตามปัจจัยราคาน้ำมัน ภาวะเงินเฟ้อ
รวมทั้งภาคการบริโภคของประชาชน ล้วนกระทบต่อการค้าและการลงทุน แต่อย่างไรก็ตามการผลิตสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อส่งออกในตลาดอา
เซียนและตลาดสหภาพยุโรปในไตรมาสนี้ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
2. การส่งออก
การส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 1,832.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.2 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 1,742.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยจำแนก
ผลิตภัณฑ์ที่สำคัญ ๆ ดังนี้
2.1 สื้อผ้าสำเร็จรูป ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 755.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 717.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นใน
ตลาดสหภาพยุโรป และ ตลาดอาเซียน โดยเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ผลิตจากฝ้ายมีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุดถึงร้อยละ 42.6 ของการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จ
รูปทั้งหมด
2.2 ผ้าผืน ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 298.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทรงตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 2.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
2.3 ด้ายและด้ายเส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 211.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ
0.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 209.5 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ
2.4 เส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 146.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน มีมูลค่าการส่งออก 129.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
3. ตลาดส่งออก
ตลาดส่งออกที่สำคัญหลักๆ ของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีดังนี้
สหรัฐอเมริกา ยังคงเป็นตลาดส่งออกสิ่งทอหลักของไทย ซึ่งการส่งออกสิ่งทอของไทยไปสหรัฐอเมริกา ในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มี
มูลค่า 462.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสัด
ส่วนการส่งออกสิ่งทอและ เครื่องนุ่งห่มของไทยส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกาคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.2 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมดของไทย สินค้าที่ส่ง
ออกส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องยกทรงฯ และ เคหะสิ่งทอ ตามลำดับ
สหภาพยุโรป ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 345.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.8 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าผืน เครื่องยกทรง รัดทรงและส่วนประกอบ เป็นต้น
อาเซียน ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 264.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 18.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 14.4 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผ้า
ผืน เส้นใยประดิษฐ์ ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ และสิ่งทออื่นๆ เป็นต้น
ญี่ปุ่น ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 มีมูลค่าการส่งออก 124.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 40.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.8 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด โดยสินค้าส่งออกของไทยส่วนใหญ่เป็น
กลุ่มของเสื้อผ้าสำเร็จรูป
4. การนำเข้า
การนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต เช่น เส้นใยฯ เส้นด้ายฯ
ผ้าผืน และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ (ร้อยละ 92.8) และเสื้อผ้าสำเร็จรูป (ร้อยละ 7.2)
4.1 สิ่งทอ มีมูลค่าการนำเข้าสิ่งทอ (เส้นใยฯ เส้นด้ายฯ ผ้าผืน และ ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ) รวมทั้งสิ้น 895.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนการนำเข้าสูงถึงร้อยละ
92.8 ของมูลค่าการนำเข้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มโดยรวม ผลิตภัณฑ์สำคัญที่นำเข้ามี ดังนี้
4.1.1 เส้นใยที่ใช้ในการทอ มีมูลค่านำเข้า 239.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำ
เข้า 232.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อินเดีย
และออสเตรเลีย มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 37.1, 9.9 และ 9.7 ตามลำดับ
4.1.2 ด้ายทอผ้าฯ มีมูลค่านำเข้า 155.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 146.2
ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีสัดส่วนนำ
เข้าร้อยละ 24.9, 14.8, และ 10.7 ตามลำดับ
4.1.3 ผ้าผืน มีมูลค่านำเข้า 411.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 372.5 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ จีน ไต้หวัน และญี่ปุ่น สัดส่วนการนำเข้า
ร้อยละ 43.8,15.0 และ 8.0 ตามลำดับ
4.1.4 ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ มีมูลค่านำเข้า 57.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
59.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ สัด
ส่วนการนำเข้าร้อยละ 28.2, 16.9 และ 5.0 ตามลำดับ
4.2 เสื้อผ้าสำเร็จรูป มีมูลค่านำเข้าทั้งสิ้น 69.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
70.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.2 ของการนำเข้าสิ่งทอและเครื่อง
นุ่งห่มทั้งหมด ตลาดนำเข้าหลักคือ จีน ฮ่องกง และอิตาลี สัดส่วนร้อยละ 52.6, 9.2 และ 3.2 ตามลำดับ
5. สรุปและแนวโน้ม
ในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มได้รับผลกระทบอย่างมากจากปัจจัยลบหลายประการที่มากระทบ ทั้งภาคการ
ผลิตและการส่งออก อาทิ ราคาสินค้าที่ทยอยปรับเพิ่มขึ้น ปัญหาเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ล้วนกระทบต่อการบริโภคของประชาชน แต่
อาจจะไม่กระทบต่ออุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทยมากนัก เนื่องจากภาคการส่งออกของอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 2 ปี 2551 ขยายตัวเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 5.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน หรือมีมูลค่าการส่งออก 1,832.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และร้อยละ 5.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี
ก่อน โดยผลิตภัณฑ์ส่งออกหลักที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ถุงเท้าและถุงน่อง ถุงมือผ้า ด้ายเส้นใยประดิษฐ์ เคหะสิ่งทอ เส้นใยประดิษฐ์ เป็นต้น
ซึ่งปัจจุบันสิ่งทอไทยการส่งออกยังขยายตัวในตลาดสหภาพยุโรป และอาเซียน ร้อยละ 15.1 และ 11.8 ตามลำดับ
สำหรับแนวโน้มในไตรมาสที่ 3 ปี 2551 คาดว่าอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มจะขยายตัวทั้งภาคการผลิต การนำเข้า และการส่ง
ออก แม้ว่าไทยจะประสบปัญหาเศรษฐกิจซบเซา ส่วนใหญ่ร้อยละ 60 ยังมีการนำเข้าเสื้อผ้าสำเร็จรูปราคาถูกจากประเทศที่มีต้นทุนการผลิตต่ำอย่างจีน
ลาว และกัมพูชา เพื่อรองรับกลุ่มผู้ซื้อที่มีกำลังซื้อจำกัด แต่ในระยะยาวมูลค่าการนำเข้าเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่เพิ่มขึ้น จะส่งผลเสียต่อผู้ประกอบการใน
ประเทศ ที่ไม่สามารถแข่งขันได้และต้องเลิกกิจการ ทั้งนี้ผู้ประกอบการควรปรับปรุงคุณภาพและรูปแบบสินค้าให้สอดคล้องกับแฟชั่นและความนิยมของผู้
บริโภค อีกทั้งปรับลดต้นทุนการผลิตเพื่อการลดความสูญเสียของวัตถุดิบจากกระบวนการผลิต
ตารางที่ 1 ดัชนีการผลิตเส้นใยสิ่งทอรวมทั้งการทอสิ่งทอ
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
ผลผลิต 78.1 73.5 75.9 72.4 72.6 70 -3.6 -4.7
การส่งสินค้า 80 76.8 76.9 77.1 78.9 72.2 -8.5 -5.9
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 169 170 175 172 158 159 0.2 -6.8
ตารางที่ 2 ดัชนีการผลิตผ้าที่ได้จากการถักนิตติ้งและโครเชท์
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
ผลผลิต 145 125 123 159 156 142 -8.7 13.4
การส่งสินค้า 98.7 105 93.5 105 99.8 98.9 -0.9 -6.2
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 115 108 118 133 123 111 -10.3 2.6
ตารางที่ 3 ดัชนีการผลิตเครื่องแต่งกายยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ผลิตจากขนสัตว์
ดัชนี 2550 2551 อัตราการขยายตัว(%)
Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q4/50 Q2/50
ผลผลิต 151 149 159 160 163 158 -3 6
การส่งสินค้า 126 140 142 137 135 145 7.3 3.1
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 262 245 245 270 331 340 2.8 38.7
ที่มา : ตารางที่ 1-3 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : * เป็นตัวเลขเบื้องต้น
มูลค่าการส่งออกสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ปี 2549-2551 แยกรายไตรมาส
ชื่อสินค้า มูลค่า : ล้านเหรียญฯ อัตราขยายตัว (%)
2550 2551 Q2*/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
สิ่งทอ 1,643.30 1,733.70 1,816.50 1,782.20 1,742.20 1,832.40 5.2 5.9
1 เครื่องนุ่งห่ม 800.4 841.3 890.4 840.8 819.3 858.7 4.8 2.2
(1) เสื้อผ้าสำเร็จรูป 711.8 749.5 791.6 738.9 717.6 755.8 5.3 1
(2) เครื่องยกทรง รัดทรงฯ 71.1 76.5 79.5 82.4 83.4 83.3 -0.1 9
(3) ถุงเท้าและถุงน่อง 15 12.7 16.2 16.3 14.7 15.9 7.8 24.6
(4) ถุงมือผ้า 2.5 2.5 3.1 3.2 3.5 3.4 6.1 50.1
2 ผ้าผืนและด้าย 479.1 501.4 510.9 515.9 508.7 509.9 0.2 1.9
(1) ผ้าผืน 284.5 291.2 287.3 300.2 298.2 298.2 0 2.5
(2) ด้ายและเส้นใยฯ 194.5 210.3 223.6 215.7 210.5 211.7 0.6 1
3 เคหะสิ่งทอ 74 79.3 88.5 91.5 86.6 88 1.6 11.8
4 เส้นใยประดิษฐ์ 115.3 129.5 135.4 139.7 137.2 146.9 7.1 13.2
5 ผ้าปักและผ้าลูกไม้ 30.3 31.7 36.3 36.6 30.3 40.1 32.2 26.3
6 ตาข่ายจับปลา 18.3 21.4 22 19.7 21.5 34 57.8 58.6
7 ผ้าคลุมไหล่ ผ้าพันคอ 1.5 2 2 2.4 1.6 2.3 42 15.6
8 ผ้าแบบสำหรับตัดเสื้อฯ 9.7 11.7 9.8 12.8 11.6 13.8 18.8 18.7
9 สิ่งทออื่นๆ 114.7 115.5 121.3 122.7 125.4 138.8 10.7 20.2
มูลค่าการนำเข้าสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ปี 2550-2551 แยกรายไตรมาส
ชื่อสินค้า มูลค่า : ล้านเหรียญฯ อัตราขยายตัว (%)
2550 2551 Q2/51 เทียบ
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/51 Q2/50
1 เครื่องจักรสิ่งทอ 96 98.7 68.6 81.1 81.7 83.7 2.4 -15.2
2 ด้ายและเส้นใย 312.6 311.7 314.3 316.1 407.7 426.1 4.5 36.7
- เส้นใยใช้ในการทอ 187.1 163.2 156.7 173.3 232.2 239.9 3.3 47
- ด้ายทอผ้าและด้ายเส้นเล็ก 101.2 122.4 129.6 115.2 146.2 155.3 6.2 26.8
- วัตถุทออื่น ๆ 24.4 26.1 28 27.5 29.3 30.9 5.3 18.4
3 ผ้าผืน 310.1 383.5 353 391.3 372.5 411.9 10.6 7.4
4 ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ 39.9 44.8 44.7 55.8 59.6 57.6 -1.7 17.2
5 เสื้อผ้าสำเร็จรูป 57.8 58.9 65.1 66.9 70.2 69.1 -3.4 28.6
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-