1. การผลิต
ภาวะการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวมปี 2551 คาดว่าจะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 2.7 เนื่องจากการผลิตใน หลายสินค้า ได้รับผลดีจากการปรับตัวสูงขึ้นของราคาในตลาดโลกในช่วงไตรมาสที่ 2-3 โดยมาจากการที่ประเทศผู้ผลิตสำคัญหลายประเทศประสบปัญหา ทั้งวัตถุดิบและจากภาวะภัยธรรมชาติ ประกอบกับประเทศผู้ผลิตรายสำคัญอย่างจีน ประสบปัญหาความปลอดภัยของอาหารที่ประเทศนำเข้าตรวจสอบพบ สารตกค้างและสิ่งปลอมปนในอาหารจนเกิดวิกฤตความปลอดภัยทั้งในสินค้าประเภทประมง และปศุสัตว์ ทำให้ประเทศนำเข้าหันมานำเข้าสินค้าอาหาร จากไทยทดแทนเพิ่มขึ้น สำหรับภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารในแต่ละกลุ่ม มีดังนี้
- กลุ่มปศุสัตว์ สินค้าสำคัญ คือ ไก่สดแช่แข็งและไก่แปรรูป ภาพรวมปี 2551 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อน
- กลุ่มประมง สินค้าสำคัญ คือ กุ้งและผลิตภัณฑ์จากกุ้ง และผลิตภัณฑ์จากปลาทูน่า ภาพรวมปี 2551 คาดว่าจะมีปริมาณ
- กลุ่มผักผลไม้ ภาพรวมของการผลิต ปี 2551 คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 จากการผลิตเพิ่มขึ้นของสินค้าสำคัญใน
- ผลิตภัณฑ์นม ธัญพืชและแป้ง และบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป การผลิตในปี 2551 คาดว่าจะชะลอตัวลง จากปัญหาวัตถุดิบ ซึ่ง
- น้ำมันพืช การผลิตในปี 2551 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.6 เนื่องจากในช่วงไตรมาสที่ 1-2 ราคาน้ำมันได้
- น้ำตาล การผลิตในปี 2551 คาดว่าจะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 เนื่องจากผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่
ปลูก และผลพลอยได้จากการผลิตได้ถูกนำไปผลิตเป็นเอทานอลผสมในน้ำมันเชื้อเพลิง นอกจากนี้ภาครัฐมีนโยบายและมาตรการในการส่งเสริมพืช
พลังงานที่ชัดเจน ทำให้เกษตรกรมีแรงจูงใจในการปลูกอ้อยและคงพื้นที่ปลูกไว้
2. การตลาด
2.1 ตลาดในประเทศ
ภาพรวมการจำหน่ายอุตสาหกรรมอาหาร ในปี 2551 คาดว่าจะขยายตัวเพียงร้อยละ 1.7 น้อยกว่าในปี 2550 ที่ขยายตัวร้อยละ 6.6 จากปัญหาความไม่แน่นอนทางการเมืองที่ทวีความรุนแรง และส่งผลต่อความมั่นใจในการบริโภคลดลง ประกอบกับภาวะเงินเฟ้อในช่วงไตรมาสที่ 1-2 ที่เกิดจากการปรับตัวสูงขึ้นของระดับราคาน้ำมัน และส่งผลต่อเนื่องไปยังระดับต้นทุนสินค้าและราคาสินค้าอุปโภคบริโภค ซึ่งอาจทำให้เกิดแรงผลักดันไปสู่ วิกฤตเศรษฐกิจในประเทศ
2.2 ตลาดต่างประเทศ
ภาพรวมการส่งออกอุตสาหกรรมอาหาร ในปี 2551 คาดว่าจะลดลงในเชิงปริมาณร้อยละ 0.4 แต่จากการเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้า ในตลาดโลก ส่งผลให้การส่งออกจะเพิ่มขึ้นในเชิงมูลค่าในรูปเงินบาท ร้อยละ 17.5 และในรูปเหรียญสหรัฐฯ ร้อยละ 21.9 โดยสามารถส่งออก เพิ่มขึ้นในเกือบทุกตลาด เช่น ญี่ปุ่น อาเซียน EU อาฟริกา และตะวันออกกลาง ยกเว้นสหรัฐฯ สำหรับการส่งออกในแต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์ มีดังนี้
- กลุ่มผลิตภัณฑ์ประมง ภาพรวมการส่งออกในปี 2551 มีการขยายตัวในเชิงปริมาณร้อยละ 1.7 ลดลงเมื่อเทียบกับปี
- กลุ่มผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ ภาพรวมการส่งออกในปี 2551 มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริมาณ และในเชิงมูลค่าทั้งใน
- กลุ่มผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ สินค้าหลัก คือ ไก่และสัตว์ปีก คาดว่าในปี 2551 ภาพรวมการส่งออกจะเพิ่มขึ้นทั้งในรูปปริมาณและ
- กลุ่มผลิตภัณฑ์จากข้าว แป้ง และธัญพืช ภาพรวมการส่งออกของสินค้าในกลุ่มนี้ เพิ่มขึ้นในเชิงมูลค่าเป็นอย่างมาก ประมาณ
- น้ำตาลทราย ภาพรวมการส่งออกมีการขยายตัวได้ในเชิงปริมาณและมูลค่า แต่จากการปรับชะลอตัวของระดับราคาน้ำตาล
ในตลาดโลก ทำให้การส่งออกขยายตัวในเชิงปริมาณสูงกว่ามูลค่าในรูปเงินบาท แต่หากพิจารณาอัตราแลกเปลี่ยนที่เงินบาทยังแข็งค่าในช่วง 9 เดือน
แรก และอ่อนค่าในช่วงไตรมาส 4 ทำให้การขยายตัวในเชิงปริมาณน้อยกว่ามูลค่าในรูปเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2551 คาดว่าการส่งออกจะขยายตัวใน
เชิงปริมาณร้อยละ 12.3 และในเชิงมูลค่าในรูปเงินบาทและเงินเหรียญสหรัฐฯ ร้อยละ 7.4 และ 12.7 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
แนวโน้มการผลิตอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวมปี 2552 คาดว่าจะขยายตัวจากปี 2551 ร้อยละ 3.6 ขณะที่การคาด การณ์การส่งออกอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวมปี 2552 ในเชิงปริมาณจะขยายตัวร้อยละ 1.5 น้อยกว่าในปี 2551 ที่ขยายตัวร้อยละ 4.8 ส่วนเชิง มูลค่าในรูปเงินบาทจะลดลงร้อยละ 4.8 และในรูปเงินเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 8 แต่หากไม่รวมการส่งออกข้าว ภาพรวมการส่งออกจะขยายตัว ในเชิงปริมาณร้อยละ 14.6 ในเชิงมูลค่ารูปเงินบาทและเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 7.8 และ 4.2 โดยมีปัจจัยภาวะเศรษฐกิจถดถอยของสหรัฐ อเมริกา และประเทศผู้นำเข้าทั้งสหภาพยุโรปและญี่ปุ่น เป็นปัจจัยหลักที่ทำให้การผลิตและการส่งออกของไทยในสินค้าอาหารชะลอตัวลง และยังต้อง ติดตามปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น ความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจในประเทศของผู้บริโภคที่ยังชะลอการจับจ่ายใช้สอย การแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดนกรอบ ใหม่ ภัยธรรมชาติที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ และมาตรการกีดกันทางการค้ารูปแบบต่างๆ ที่ประเทศ ผู้นำเข้าจะประกาศใช้ในอนาคต เช่น การประกาศ มาตรการเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์สัมผัสอาหารของยุโรป มาตรการการบังคับปิดฉลากเพิ่มเติมของสหรัฐฯ และการประกาศเกณฑ์ขั้นต่ำของสารตกค้างใน อาหารที่เข้มงวดมากขึ้นในหลายสินค้าของจีน ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ นอกจากนี้ยังต้องเฝ้าระวังการประกาศมาตรการกีดกันรูปแบบใหม่ โดยเฉพาะ ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของแรงงาน ซึ่งจะทะยอยประกาศใช้เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศ อย่างไรก็ดีหากพิจารณาปัจจัยเสริมที่ได้รับ จากการทำข้อตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระหว่างไทย-ญี่ปุ่น (Japan-Thailand Economics Partnership Agreement : JTEPA) ที่มีผลบังคับ ใช้แล้ว อาจทำให้การส่งออกสินค้าเกษตร เช่น กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งแปรรูป และไก่ปรุงสุก ขยายตัวในเชิงมูลค่าได้จากราคาเปรียบเทียบที่ลดลง และเป็นที่สนใจของผู้บริโภคญี่ปุ่น ประกอบกับตลาดยุโรปกำลังพิจารณาให้สิทธิพิเศษทางภาษี GSP รอบใหม่ ในลักษณะการทำข้อตกลงการค้าเสรีอา เซียน-ยุโรป สำหรับการคาดการณ์แนวโน้มการผลิตและส่งออกในปี 2552 ในแต่ละกลุ่ม มีดังนี้
- กลุ่มผลิตภัณฑ์ประมง แนวโน้มการผลิตในปี 2552 คาดว่าจะขยายตัวจากปีก่อน ประมาณร้อยละ1.2 สำหรับการส่งออก
- กลุ่มผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ แนวโน้มการผลิตในปี 2552 คาดว่าจะเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 สำหรับการส่งออก คาดว่า
- กลุ่มผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ แนวโน้มการผลิตในปี 2552 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 26.5 สำหรับการส่งออก คาดว่าจะมีการ
- กลุ่มข้าว แป้ง และธัญพืช แนวโน้มการผลิตในปี 2552 คาดว่าจะปรับลดลงประมาณร้อยละ 15 สำหรับการส่งออกใน
- น้ำตาลทราย แนวโน้มการผลิตในปี 2552 จะเริ่มเปิดฤดูหีบอ้อนช่วงเดือนพฤศจิกายน 2551 ซึ่งคาดการณ์ว่าผลผลิตจะ
- น้ำมันพืช และผลิตภัณฑ์นม แนวโน้มการผลิตน้ำมันพืชในปี 2552 คาดว่าจะปรับชะลอตัวลงตามภาวะเศรษฐกิจของไทย
และราคาน้ำมันที่ปรับลดลงเป็นอย่างมาก ส่งผลกระทบกับราคาปาล์มน้ำมันที่เริ่มชะลอตัวลงตั้งแต่กลางช่วงไตรมาส 3 ของปี 2551 และต่อเนื่องไปถึง
ต้นปี 2552 เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความต้องการใช้ยังปรับเพิ่มขึ้นไม่ทัน ประกอบกับการประกาศบังคับผสมน้ำมันไบโอดีเซลในน้ำมัน
ดีเซลเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2 เป็นร้อยละ 5 ซึ่งยังไม่ชัดเจนในทางปฏิบัติ ทำให้ระดับราคาปาล์มน้ำมันอาจปรับลดลงอีกในช่วงปลายปี 2552 ที่ผล
ผลิตออกสู่ตลาดมาก ส่วนผลิตภัณฑ์นม เนื่องจากการปรับราคาน้ำนมดิบในปี 2551 เริ่มส่งผลต่อระดับราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมที่ปรับเพิ่มขึ้น อาจทำให้
การบริโภคนมปรับตัวลดลง ส่งผลให้การผลิตอาจปรับตัวลดลงประมาณร้อยละ 4.5
ปริมาณการผลิต (ตัน) การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบระหว่างปี
(ร้อยละ)
ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551p ปี 2552f 50/49 51/50 52/51 ปศุสัตว์ 895,426.40 970,558.90 1,221,350.90 1,580,790.50 1,999,700.00 25.8 29.4 26.5 ประมง 893,832.50 941,216.30 944,004.70 964,699.40 976,702.60 0.3 2.2 1.2 ผักผลไม้ 847,056.40 1,021,593.50 910,165.40 975,965.30 1,005,244.30 -10.9 7.2 3 น้ำมันพืช 1,268,702.20 1,558,923.20 1,461,971.80 1,762,624.80 1,889,055.90 -6.2 20.6 7.2 ผลิตภัณฑ์นม 921,180.60 1,101,439.40 1,081,907.20 1,012,985.70 967,401.40 -1.8 -6.4 -4.5 ธัญพืชและแป้ง 1,781,646.10 2,234,531.20 2,130,723.70 1,684,635.20 1,431,939.90 -4.6 -20.9 -15 อาหารสัตว์ 5,674,148.60 6,282,622.50 7,007,387.70 7,189,811.10 7,446,487.40 11.5 2.6 3.6 น้ำตาล 6,585,850.80 7,994,336.40 11,015,703.60 12,666,271.00 12,286,282.90 37.8 15 -3 บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป 171,970.60 166,154.40 169,688.40 160,052.50 160,052.50 2.1 -5.7 0 รวม 19,039,814.30 22,271,375.70 25,942,903.50 27,997,835.60 28,162,866.80 16.5 7.9 0.6 รวม 12,453,963.40 14,277,039.20 14,927,199.90 15,331,564.60 15,876,583.90 4.6 2.7 3.6 ตารางที่ 2 การจำหน่ายในประเทศผลิตภัณฑ์อาหารของไทย ปริมาณการจำหน่าย (ตัน) การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบระหว่างปี
(ร้อยละ)
ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551p ปี 2552f 50/49 51/50 52/51 ปศุสัตว์ 736,534.60 786,760.70 951,509.70 1,168,610.30 1,343,901.90 20.9 22.8 15 ประมง 117,168.60 125,351.40 131,041.00 119,923.50 121,122.70 4.5 -8.5 1 ผักผลไม้ 156,479.10 183,922.90 184,019.40 201,823.60 211,914.80 0.1 9.7 5 น้ำมันพืช 999,803.00 1,133,201.30 1,059,913.80 1,235,393.20 1,260,101.10 -6.5 16.6 2 ผลิตภัณฑ์นม 732,929.60 923,052.00 954,899.00 907,868.80 916,947.50 3.5 -4.9 1 ธัญพืชและแป้ง 1,056,912.40 1,242,479.80 1,206,676.50 932,563.70 839,307.30 -2.9 -22.7 -10 อาหารสัตว์ 5,221,022.10 5,813,683.30 6,400,328.70 6,524,691.70 6,870,500.40 10.1 1.9 5.3 น้ำตาล 3,999,261.40 4,025,415.70 5,199,495.10 6,237,691.70 5,988,184.00 29.2 20 -4 บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป 131,505.80 138,286.90 142,526.30 126,283.20 130,071.70 3.1 -11.4 3 รวม 13,151,616.80 14,372,154.10 16,230,409.30 17,454,849.70 17,682,051.40 12.9 7.5 1.3 รวม 9,152,355.30 10,346,738.40 11,030,914.20 11,217,158.00 11,693,867.30 6.6 1.7 4.2 (ไม่รวมน้ำตาล)
ที่มา : ข้อมูลเพื่อการจัดทำดัชนีอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : ปี 2551p เป็นตัวเลขเบื้องต้น ปี 2552f เป็นตัวเลขพยากรณ์
สินค้าส่งออก ปริมาณการส่งออก (เมตริกตัน) การเปลี่ยนแปลง 2549 2550 2551p 2552f 2550 2551p 2552f ปศุสัตว์ ไก่และสัตว์ปีก 313,615 354,785 432,126 493,743 13.1 22 14.3 ผลิตภัณฑ์ประมง 1,477,854 1,534,318 1,560,633 1,651,906 3.8 1.7 5.8 กุ้ง 346,911 355,219 356,024 367,377 2.4 0.2 3.2 ทูน่ากระป๋อง/แปรรูป 501,652 468,144 534,285 617,095 -6.7 14 15.5 ปลาแช่แข็ง 364,709 431,616 392,389 370,237 18.3 -9.1 -5.6 ปลาหมึก 95,573 93,539 85,226 91,747 -2.1 -8.9 7.7 ปลากระป๋อง/แปรรูป 169,009 185,800 192,709 205,449 9.9 3.7 6.6 ผักและผลไม้ 2,410,829 2,436,839 2,735,754 3,043,973 1.1 12 11.3 ผลไม้กระป๋อง/แปรรูป 959,250 916,162 1,019,544 1,073,532 -4.5 11 5.3 ผักสด/แปรรูป 541,356 526,820 606,922 717,499 -2.7 15 18.2 ผลไม้สด/แห้ง 594,313 715,984 793,739 904,497 20.5 11 14 น้ำผลไม้ 315,910 277,874 315,549 348,444 -12 14 10.4 สินค้าอาหารอื่นๆ ข้าว 7,438,571 9,289,395 10,728,426 8,391,241 24.9 16 -22 น้ำตาลทราย 2,238,809 4,162,628 4,673,630 4,525,323 85.9 12 -3.2 น้ำมันปาล์ม 298,314 426,657 487,901 493,564 43 14 1.2 มันเส้น/มันอัดเม็ด 4,224,763 4,558,811 3,238,536 3,942,334 7.9 -29 21.7 แป้งมันสำปะหลัง 1,697,579 1,496,338 1,380,097 1,382,016 -12 -7.8 0.1 เครื่องปรุงรส 153,082 166,861 173,859 181,286 9 4.2 4.3 เครื่องดื่มไม่มีแอลกออล์ 201,550 249,187 433,093 474,274 23.6 74 9.5 อาหารสัตว์เลี้ยง 217,883 233,522 263,258 254,888 7.2 13 -3.2 อาหารอื่นๆ 2,725,172 2,616,953 2,824,270 4,468,659 -4 7.9 58.2 อาหารทั้งหมด 24,258,560 28,568,394 29,936,014 30,397,674 17.8 4.8 1.5 ไม่รวมข้าว 16,819,989.00 19,278,998.10 19,207,588.40 22,006,433.00 14.6 -0.4 14.6
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : ปี 2551p เป็นตัวเลขเบื้องต้น ปี 2552f เป็นตัวเลขพยากรณ์
สินค้าส่งออก มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) การเปลี่ยนแปลง 2549 2550 2551p 2552f 2550 2551p 2552f ปศุสัตว์ ไก่และสัตว์ปีก 37,326 41,279 59,088 65,543 10.6 43 10.9 ผลิตภัณฑ์ประมง 183,138 179,142 202,961 214,883 -2.2 13 5.9 กุ้ง 86,727 81,646 82,147 82,492 -5.9 0.6 0.4 ทูน่ากระป๋อง/แปรรูป 49,091 47,897 67,743 77,740 -2.4 41 14.8 ปลาแช่แข็ง 17,649 19,089 22,590 22,066 8.2 18 -2.3 ปลาหมึก 16,096 15,544 14,139 15,075 -3.4 -9 6.6 ปลากระป๋อง/แปรรูป 13,575 14,965 16,341 17,510 10.2 9.2 7.2 ผักและผลไม้ 70,571 71,311 82,743 89,179 1 16 7.8 ผลไม้กระป๋อง/แปรรูป 30,239 31,671 38,731 41,038 4.7 22 6 ผักสด/แปรรูป 19,124 17,985 19,174 20,012 -6 6.6 4.4 ผลไม้สด/แห้ง 12,329 13,520 15,112 17,323 9.7 12 14.6 น้ำผลไม้ 8,878 8,135 9,726 10,806 -8.4 20 11.1 สินค้าอาหารอื่นๆ ข้าว 97,623 119,328 219,903 135,731 22.2 84 -38 น้ำตาลทราย 27,780 40,510 43,521 41,514 45.8 7.4 -4.6 น้ำมันปาล์ม 5,038 10,445 16,550 14,831 107 58 -10 มันเส้น/มันอัดเม็ด 17,214 19,314 18,635 16,448 12.2 -3.5 -12 แป้งมันสำปะหลัง 14,006 14,336 16,875 17,366 2.4 18 2.9 เครื่องปรุงรส 7,287 8,096 9,735 10,417 11.1 20 7 เครื่องดื่มไม่มีแอลกออล์ 4,815 5,948 8,131 8,034 23.5 37 -1.2 อาหารสัตว์เลี้ยง 14,588 15,646 18,930 19,269 7.3 21 1.8 อาหารอื่นๆ 73,467 74,290 87,000 111,076 1.1 17 27.7 อาหารทั้งหมด 563,911 617,620 805,152 766,477 9.5 30 -4.8 ไม่รวมข้าว 466,288.20 498,291.90 585,249.20 630,746.80 6.9 18 7.8
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : ปี 2551p เป็นตัวเลขเบื้องต้น ปี 2552f เป็นตัวเลขพยากรณ์
สินค้าส่งออก มูลค่าการส่งออก (ล้านเหรียญสหรัฐ) การเปลี่ยนแปลง 2549 2550 2551p 2552f 2550 2551p 2552f ปศุสัตว์ ไก่และสัตว์ปีก 983.7 1,197.00 1,769.70 1,904.20 21.7 48 7.6 ผลิตภัณฑ์ประมง 4,821.00 5,192.50 6,088.00 6,243.00 7.7 17 2.5 กุ้ง 2,278.00 2,369.40 2,459.40 2,396.60 4 3.8 -2.6 ทูน่ากระป๋อง/แปรรูป 1,294.20 1,388.10 2,032.60 2,258.60 7.2 46 11.1 ปลาแช่แข็ง 465.9 553 680.1 641.1 18.7 23 -5.7 ปลาหมึก 425 448.6 425.1 438 5.6 -5.3 3 ปลากระป๋อง/แปรรูป 357.9 433.4 490.9 508.7 21.1 13 3.6 ผักและผลไม้ 1,862.40 2,064.60 2,489.80 2,590.90 10.9 21 4.1 ผลไม้กระป๋อง/แปรรูป 797.9 917.3 1,165.10 1,192.30 15 27 2.3 ผักสด/แปรรูป 504.5 519.7 577.1 581.4 3 11 0.7 ผลไม้สด/แห้ง 325.3 392.1 454.8 503.3 20.5 16 10.7 น้ำผลไม้ 234.6 235.5 292.7 313.9 0.4 24 7.2 สินค้าอาหารอื่นๆ ข้าว 2,569.00 3,465.60 6,616.00 3,943.40 34.9 91 -40 น้ำตาลทราย 730.3 1,165.40 1,313.80 1,206.10 59.6 13 -8.2 น้ำมันปาล์ม 131 303.1 499.3 430.9 131 65 -14 มันเส้น/มันอัดเม็ด 453.4 556.3 562.3 477.9 22.7 1.1 -15 แป้งมันสำปะหลัง 368.9 414.8 507.3 504.5 12.4 22 -0.5 เครื่องปรุงรส 191.9 234.6 292.4 302.6 22.3 25 3.5 เครื่องดื่มไม่มีแอลกออล์ 127.1 172.2 244.1 233.4 35.5 42 -4.4 อาหารสัตว์เลี้ยง 384.3 453.2 569.9 559.8 17.9 26 -1.8 อาหารอื่นๆ 1,937.30 2,151.90 2,612.00 3,227.10 11.1 21 23.5 อาหารทั้งหมด 14,851.60 17,891.10 24,197.70 22,268.40 20.5 35 -8 ไม่รวมข้าว 12,282.60 14,425.60 17,581.60 18,325.00 17.4 22 4.2
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : ปี 2551p เป็นตัวเลขเบื้องต้น ปี 2552f เป็นตัวเลขพยากรณ์
ปริมาณนำเข้า (ตัน) การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) 2549 2550 ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 เทียบไตรมาสก่อน เทียบไตรมาส เทียบกับ ปี 2549 ปี 2550 เดียวกันของปีก่อน ปี 2549 ปลาทูนาสด แช่เย็น แช่แข็ง 187,565.00 169,799.70 194,210.50 783,443.50 725,236.50 14.4 3.5 -7.4 เมล็ดพืชน้ำมัน 455,303.00 460,952.80 382,822.60 1,441,899.10 1,590,759.80 -16.9 -15.9 10.3 กากพืชน้ำมัน 681,365.90 802,732.70 505,170.10 2,620,351.20 2,536,728.80 -37.1 -25.9 -3.2 นมและผลิตภัณฑ์นม 61,750.30 41,955.40 47,077.10 184,642.20 162,638.20 12.2 -23.8 -11.9 อาหารรวม 2,467,690.50 2,620,842.20 2,352,263.00 8,841,767.80 8,910,742.10 -10.2 -4.7 0.8 มูลค่านำเข้า (ล้านบาท) การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) 2549 2550 ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 เทียบไตรมาสก่อน เทียบไตรมาส เทียบกับ ปี 2549 ปี 2550 เดียวกันของปีก่อน ปี 2549 ปลาทูนาสด แช่เย็น แช่แข็ง 7,550.20 6,896.00 9,900.60 31,268.20 33,053.60 43.6 31.1 5.7 เมล็ดพืชน้ำมัน 4,711.30 4,706.30 5,909.70 14,992.80 20,245.80 25.6 25.4 35 กากพืชน้ำมัน 5,593.30 6,539.70 5,682.30 21,501.00 24,059.80 -13.1 1.6 11.9 นมและผลิตภัณฑ์นม 4,461.60 2,818.20 5,821.70 13,190.10 16,196.50 106.6 30.5 22.8 อาหารรวม 56,093.70 63,715.60 64,719.70 201,119.00 220,325.70 1.6 15.4 9.5 มูลค่านำเข้า (ล้านดอลลาร์) การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) 2549 2550 ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 เทียบไตรมาสก่อน เทียบไตรมาส เทียบกับ ปี 2549 ปี 2550 เดียวกันของปีก่อน ปี 2549 ปลาทูนาสด แช่เย็น แช่แข็ง 207.5 202.3 293.6 859.3 980.2 45.1 41.5 14.1 เมล็ดพืชน้ำมัน 129.5 130.3 175.3 412 600.4 34.5 35.4 45.7 กากพืชน้ำมัน 153.7 184 168.5 590.8 713.5 -8.4 9.6 20.8 นมและผลิตภัณฑ์นม 122.6 81.8 172.6 362.5 480.3 111.1 40.8 32.5 อาหารรวม 1,541.50 1,788.60 1,919.30 5,526.80 6,534.00 7.3 24.5 18.2 ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--