กรุงเทพฯ--9 มิ.ย.--เสถียรธรรมสถาน
กำหนดการ
การประชุมนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา ครั้งที่ ๑๒
"มรรคาสู่การหลุดพ้น" (Leading to Liberation)
ณ เสถียรธรรมสถาน กรุงเทพมหานครวันที่ ๑๒ — ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
วันอาทิตย์ที่ ๑๒มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
คนข้างหน้าเป็นคนพิเศษสำหรับเรา
๐๙.๐๐ น.
ระฆังแห่งสติ พุทธสาวิกาจากประเทศภาคีองค์กรภาวนาร่วมกัน
๑๐.๐๐ น
ย่ำกลองร้องรำไทย
๑๐.๓๐ น.
กล่าวต้อนรับโดยเจ้าบ้าน-ท่านแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต และประธานองค์กรศากยธิดา-ดร.ยู หลิงชาง
กล่าวสุนทรพจน์ โดยผู้นำจิตวิญญาณนานาชาติ
ภิกษุณี ชุนโด อาโอยาม่าเจ้าอาวาส Aichi SenmonNisodoแห่งญี่ปุ่น
ภิกษุณี เมียว ซอง ซูนิม ประธานองค์กรภิกษุณีแห่งเกาหลี
ภิกษุณี ตินห์ เหวียนประธานองค์กรภิกษุณีแห่งเวียดนาม
๑๑.๐๐ น.
ถวายภัตตาหาร และผู้เข้าร่วมประชุมรับประทานอาหารกลางวัน
๑๔.๐๐ น.
พิธีเปิดการประชุมนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา ครั้งที่ ๑๒
พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการประชุมนานาชาติศากยธิดาครั้งที่ ๑๒
๑๕.๑๕ น.
เวทีเสวนา “พุทธสาวิกาในประเทศไทย”(Buddhist Women of Thailand)
สถาบันสงฆ์ไทยกับบทบาทการศึกษาของพุทธสาวิกาโดยพระธรรมโกศาจารย์อธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สถาบันแม่ชีไทยโดย ท่านแม่ชีประทิน ขวัญอ่อน ประธานสถาบันแม่ชีไทย
พุทธสาวิกากับการสงเคราะห์โลก โดย ท่านแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต ผู้ก่อตั้งเสถียรธรรมสถาน
และสาวิกาสิกขาลัย
พุทธสาวิกาในวิถีแห่งการปฏิบัติโดย ท่านแม่ชีอารีย์ เกียรติทับทิว สำนักปฏิบัติธรรมแม่ชีเขาภูหลวง
๑๖.๔๕ น
ถวายน้ำปานะ
๑๗.๑๕ น.
เวทีเสวนา“พุทธสาวิกาของโลก” (Buddhist Women of the World)
พุทธสาวิกาผู้อาจหาญแห่งอินเดียโบราณโดยRupaliMokashi
ภาพลักษณ์ของพุทธสาวิกาแห่งชุมชน Tangerang (ตังแงรั่ง) โดย VenitaTanusuwito
พุทธสาวิกากับงานขยายเครือข่ายศากยธิดา โดย Thich Nu NhuNguyet
ผลพวงของระบบศักดินาต่ออุบาสิกาในญี่ปุ่นโดยAiko Mizuno
พุทธสาวิกาในสาธารณรัฐบูเรียต รัสเซีย โดย AyakovaZhargal
๑๙.๑๕ น.
รับประทานอาหารเย็น
วันจันทร์ที่ ๑๓- ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฟังกันด้วยหัวใจ สร้างเครือข่ายการทำงานสงเคราะห์โลก
รู้...ภาคเช้า
๐๖.๐๐ น.
ธรรมรับอรุณ รับผู้เข้าประชุมจากสถานที่พักต่างๆ
๐๗.๐๐-๐๘.๐๐ น.
ระฆังแห่งสติ ภาวนาร่วมกัน
๐๘.๐๐-๐๙.๐๐ น.
พิจารณาอาหารเช้า
๐๙.๐๐-๑๑.๓๐ น.
เวทีเสวนาภาคเช้า*
ตื่น...ภาคบ่าย
๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น.
เวทีเสวนาภาคบ่าย*
๑๕.๐๐ น.
พักน้ำปานะ
๑๕.๓๐-๑๗.๓๐ น.
เวิร์กช็อป**
เบิกบาน...ภาคค่ำ
๑๗.๓๐ น.
รับประทานอาหารเย็น
๑๘.๓๐ น.
การแสดงศิลปวัฒนธรรม
๑๙.๓๐ น.
เดินทางกลับที่พัก
วันเสาร์ที่ ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
ธรรมสวัสดี ขอให้ปลอดภัยโดยธรรม
ภาคเช้า
๐๖.๐๐ น.
ธรรมรับอรุณ รับผู้เข้าประชุมจากสถานที่พักต่างๆ
๐๗.๐๐-๐๘.๐๐ น.
ระฆังแห่งสติ ภาวนาร่วมกัน
๐๘.๐๐-๐๙.๐๐ น.
พิจารณาอาหารเช้า
๐๙.๐๐-๑๐.๓๐ น.
๑๐.๐๐-๑๑.๓๐ น.
พิธีปิดการประชุมนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา ครั้งที่ ๑๒
ประชุมคณะกรรมการศากยธิดา
ภาคบ่าย
คณะผู้เข้าร่วมประชุมนานาชาติเดินทางชมศิลปวัฒนธรรมไทย ณ วัดพระแก้ว
วันอาทิตย์ที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก้าวย่างแห่งปัญญา
คณะผู้เข้าร่วมประชุมนานาชาติเรียนรู้วิถีชีวิตชาวพุทธ ศึกษาประวัติศาสตร์และสัมผัสกับวัฒนธรรมไทย ณ อยุธยา
หัวข้อในเวทีเสวนา
วันที่ ๑๓ — ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔
เวลา๐๙.๐๐-๑๑.๓๐ น.และ ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น.
(ทุกเวทีมีล่ามแปล : อังกฤษ, เวียดนาม, เกาหลี, จีนและไทย)
วันจันทร์ที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคเช้า)
พุทธสาวิกาผู้อาจหาญ(Leading Buddhist Women)
? พุทธสาวิกากับทัศนะของราชวงศ์ โดย Kustiani
? ปุจฉา…การสืบทอดในมุมมองของผู้หญิง พุทธสาวิกาและอำนาจทางการเมือง โดย WasfiaNazreen
? ภาวะผู้นำของสตรีและแนวคิดอนัตตาในพุทธศาสนา โดย Eun-su Cho
? ทายาทผู้ไม่ปรากฏโดย Yu-chen Li
? ปุจฉา-การสืบทอดพุทธศาสนาทิเบตในมุมมองของสตรีโดย Jetsunma Tenzin Palmo
? เรียนรู้เพื่อเป็นผู้นำ และการเป็นผู้นำเพื่อเรียนรู้ : เส้นทางแห่งการรู้ตื่นสู่ภาวะผู้นำ โดย Christie Chang
วันจันทร์ที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคบ่าย)
ทิศทางใหม่ของการปฏิรูปสังคมพุทธศาสนิกชน(New Directions for Buddhist Social Transformation)
? รากเหง้าทางสังคมและศาสนากับความรุนแรงต่อสตรีในประเทศไทยและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
โดย BhikkhuniRattanavali
? การแตกต่างของอุบาสิกาชาวพุทธในการฟื้นฟูศาสนาพุทธในเกาหลี โดย Jong-in Kim
? ภิกษุณีในพุทธศาสนานิกายเถรวาทกับการพัฒนาสังคมในประเทศไทย โดย BhikkhuniSilananda
? เศรษฐศาสตร์วิถีธรรม :วิถึสร้างสรรค์และการเปลี่ยนแปลงระบบความคิดโดยสติพิจารณาโดยSusmitaBarua
? ความทุพพลภาพกับการเข้าถึงวัด โดย Diana Cousens
วันอังคารที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคเช้า)
“พุทธสาวิกากับความยั่งยืนของโลก” (Buddhist Women & Global Sustainability)
? พระแม่ธรณีและคุณธรรมของผู้เป็นแม่ : ผลกระทบของสารัตถะแห่งเพศต่อสิ่งแวดล้อมโดย Hsiao-Lan Hu
? จิตของสรรพสัตว์ในฐานะรากฐานภววิทยาเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศ โดย Feng-chu Cheng
? เมตตาต่อโลก “มนุษย์มิได้เป็นเจ้าของโลก หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของโลก”โดย BhiksuniChuehmen
? จิตสำนึกตระหนักรู้: จิตสำนึกด้านนิเวศวิทยาในลังกาวตารสูตร พุทธศาสนามหายาน โดย Susan Su-chen Wu
? การไถ่ชีวิตสัตว์ในพุทธศาสนาไต้หวัน: เมื่อพุทธจริยธรรม ชีวิตสัตว์ และนิเวศวิทยามาบรรจบกันโดย Chialuen Chen
? การอพยพย้ายถิ่นอย่างลึกลับของช้างจำนวนมากในกัมพูชาที่เต็มไปด้วยภัยพิบัติร้ายแรง : ความสับสนอลหม่านทาง
? จริยธรรม, เขตป่าสงวน และการย้ายถิ่นฐานโดยสมัครใจ โดย NapakadolKittisenee
? “ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายจงอยู่ดีมีสุข” : เราทั้งหลายจงทำให้บังเกิดแก่เพื่อนสรรพสัตว์ด้วยกันเถิด โดย Karma TashiChoedron
วันอังคารที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคบ่าย)
“หลากหลายรูปแบบแห่งความกรุณา”(The Many Forms of Compassion)
? คุณลักษณะบางประการของความเมตตา : มุมมองจากมรรคา โดย Adrienne Cochran
? การเจริญกรุณา:การทำงานกับผู้ป่วยเอดส์ในประเทศกัมพูชา โดย Beth Goldring
? แม่ชีและการพบกฎบัตรแห่งความเมตตา โดย GuoCheen Shi
? การสอนธรรมะในเรือนจำโดย Ranjani de Silva
? แผนที่ของความเมตตา: แนวทางและการประยุกต์ใช้กับผู้ที่ได้รับความบอบช้ำทางจิตโดย Barbara Wright
วันพุธที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคเช้า)
“พุทธสาวิกาในฐานะบัณฑิตและนักการศึกษา”(Buddhist Women as Scholars and Educators)
? เพศ พุทธศาสนา และการศึกษา : ธรรมะกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในจารีตนิกายเถรวาท
โดย Caroline Starkey & Emma Tomalin
? แม่ชีในบวรพุทธศาสนาและการปฏิรูปการศึกษาในประเทสไทยโดย Monica Lindberg Falk
? การศึกษาของภิกษุณีในจังหวัดฟูเจียน : กรณีศึกษาของวิทยาลัย โดย Rujing Mao
? ศาสนศึกษาของแม่ชีที่วัดดงฮักในประเทศเกาหลี โดย Dong GoenSunim
? การรับรู้ปณิธานและโอกาส : สตรีภูฏานกับทุนการศึกษาพุทธศาสนา โดย Tenzin Dadon (SonamWangmo)
วันพุธที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคบ่าย)
“จิตสงบ, โลกสงบ”(Peaceful Mind, Peaceful World)
? จากไซกุสู่ภิกษุณี : ตำนานนักบวชสตรีชาวจีนมาเลเซีย โดย Ong Yee Choo
? พิธีกรรมบูชากวนอิมที่นิยมในไต้หวัน โดยRuting Xiao
? เดินทำไม ? การเดินจงกรมและการเดินทางแสวงบุญ: ทัศนะของชาวเอเชียและชาวตะวันตกเกี่ยวกับการพัฒนาจิตเชิงรูปธรรมโดย Suellen S. Semekoski
? แบบอย่างพุทธศาสนิกชนแห่งการบรรลุทางจิตวิญญาณ: นักบวชสตรีสามารถสอนอะไรเกี่ยวกับคุณธรรมแก่
ชาวตะวันตก โดย Carol L. Winkelmann
? การเดินทางของพุทธศาสนาสู่การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในประเทศไทย โดย Brooke Schedneck
วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคเช้า)
“วาทะจากนานาศาสนา”(Speaking of Other Religions)
? การฟื้นฟูคณะนักบวชหญิงแห่งฮินดู โดย Sister Saradeshaprana
? อิสรภาพ : เลือดและน้ำหมึกแห่งการจากลาความบีบคั้น โดย BonnaDevoraHaberman
? เมื่อความเงียบทำร้ายโดย Malia Dominica Wong
? “อิสลาม” คือการสร้างสันติ โดย Bhikkhuni Lee &BayateeDueraman
? แม่ชีเทเรซาและพระโพธิสัตว์ โดย Karma LeksheTsomo
วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคบ่าย)
“จริยธรรมศึกษา”(Ethical Education)
? โครงการอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อนหนึ่งแสนคน โดย BoonthaLeartthevorntham
? โครงการเสริมสร้างจริยธรรมของเด็ก ณ ศูนย์ศากยธิดา ประเทศศรีลังกา โดย BhikkhuniVijithananda
? ศูนย์ Than Hsiang KalyanaMitraใน Pajam, Negeri Sembilan (มาเลเซีย): กรณีศึกษาโดยZhen Yuan Shi
? พุทธศาสนาในการศึกษาวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์เชิงวัฒนธรรมโดย Marisol Mercado Santiago
วันศุกร์ที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคเช้า)
“ย้อนประเด็นภิกษุณี”(The Bhikkhuni Issue Revisited)
? กระบวนทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิงในชีวิตของพระพุทธเจ้า : กรณีของ BiqiuniZhuan
โดย SeverinaAngelovaBalabanova
? สิกขมนากับภาพวาด Nectar Ritual ในเกาหลี โดยHyangsoon Yi
? การฟื้นภิกษณีสังฆมณฑลในประเทศไทย : การศึกษาสำหรับสมณะและการก่อตั้งสายปฏิบัติ by Tomomi Ito
? วิถีหลากหลายเพื่อสนับสนุนการฟื้นฟูสังฆภิกษุณีนิกายเถรวาท โดย BhikkhuniSangha by Susan Pembroke
? จุดเปลี่ยนของนักบวชสตรีแห่งศรีลังกา : จากพิธีกรรมทางศาสนาสู่พลังแห่งสังคม
โดยHemaGoonatilake
? อุปสรรคของการประดิษฐานภิกษุณีสงฆ์ในเนปาล โดยBhikkhuniDhammananda (ภิกษุณีธัมมนนันทา)
วันศุกร์ที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาคบ่าย)
“นายธรรมะ, น.ส. สังสาระ :ต้นแบบที่ท้าท้าย”(Mr. Dharma, Ms. Samsara: Challenging Stereotypes)
? พุทธศาสนิกและธรรมะทรงเครื่อง : พุทธศาสนาแปลงโดย Lisa J. Bataglia
? ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศสามารถบรรลุธรรมได้หรือไม่ โดย KulavirPrapapornpipat
? RobinaCourtin : พุทธศาสนิกชนนอกแบบ โดย Anna Halafoff
? บทศึกษาเปรียบเทียบธรรมบทพราหมณ์และพระวินัยพระพุทธศาสนาในเรื่องมลทินจากระดูและการเกิด โดย Amy Langerberg
**เวิร์กช็อป-กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างพลังจิตวิญญาณ
วันที่ ๑๓ — ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔
เวลา๑๕.๓๐-๑๗.๓๐ น.
เวิร์กช็อปโดยองค์กรศากยธิดานานาชาติเพื่อพุทธสาวิกา
? กิจกรรมต่างๆ เพื่อเจริญเมตตา(Engaging compassionate activities)
? แนวคิดความเป็นคนและคุณค่าแห่งชีวิต(The Concept of personhood and the value of life)
? เส้นทางแห่งการตื่นรู้แห่งความเป็นผู้นำ(Learning to lead and leading to learn an awakening journey
to leadership)
? พัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นำทางธรรม(Four core values of Buddist leadership development program)
? การรับมือกับความขัดแย้ง...สู้ผู้นำสันติภาพ(Being a peace leader and healing conflicts using social intelligemce)
? ศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์แห่งการฟัง(Listening, Listening, Listening)
? การสงบจิตและอารมณ์(Creating a peaceful mind)
? อานาปานสติกับศิลปะ(Creative watering of seeds of consciousness or BIJA, through art, writing and poetry)
? สุขภาพดีทั้งกายใจ...การรมยาและไทชิ(Healthy body, healthy mind: Moxibustion and Thichi)
? โยคะแห่งสติ การปลดปล่อยกายและจิตให้เป็นอิสระ(Yin/Meditation yoga practice, Hatha yoga practic)
? การเจริญสติอยู่กับการเคลื่อนไหว (Mindfulness in Motion)
? พุทธศาสนากับความรุนแรงในครอบครัว (Buddhism and Domestic Violence)
? พุทธศาสนาและวัฒนธรรมทิเบตในการนำเสนอหน่วยการเรียนด้านวิศวกรรมสำหรับเยาวชนธิเบต
? วิถีในการสร้างชุมชนชาวพุทธในศตวรรษที่ 21(Tools for Building a Buddhist Community in the 21st Century : A Discussion, Meditation, and Workshop for Buddhist Woman)
? ดนตรีและสุขภาพ องค์รวมของจิต กาย วิญญาณ (Music and Mind-Body-Spirit Holistic Health)
? ความโดดเด่นของอาจารย์สตรีผู้สอนสมาธิวิปัสสนา(The Rise of Female Meditation Teachers)
? มุมมองในมรรคาสู่การหลุดพ้น: แมนดาลา (The View Leading to Liberation)
? การแปลธรรมะ (Translating the Dharma)
? มองตนผ่านงานศิลป์ :ค้นหาพีชะ เมล็ดพันธ์แห่งอาลยวิญญาณผ่านงานศิลป์ (Understanding Through Art: Exploring Bija, The Seeds of Store Conciousness, Through Art Making)
เวิร์กช็อปโดยเสถียรธรรมสถาน
? จิตประภัสสรตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์ (Cittaprapatsorn: Serene Mind Project)
? โรงเรียนพ่อแม่ (Parenting Project)
? เมล็ดพันธุ์แห่งปัญญาของเยาวชน (SOS-Seeds of Spiritualality)
? ยุติความรุนแรงในใจสู่มรรคาแห่งการหลุดพ้น (Breaking theViolence)
? ศิลปะการพัฒนาชีวิตด้วยอานาปานสติภาวนา (Weekend retreat)
? ธรรมาศรม : อาศรมเพื่อเรียนรู้การพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพด้วยธรรมโอสถและธรรมชาติบำบัด (Natural Healing)
“อโรคยาศาล”พ้นมะเร็งด้วยพลังแห่งรักและเมตตา( Arokhayasala: Healing from the Heart)