เอ็มเทค ขอเชิญสื่อมวลชนร่วมสัมมนาเชิงวิชาการ ในงานประชุมประจำปี สวทช. 2547 "นาโนเทคโนโลยี ความท้าทายของประเทศไทย"

ข่าวเทคโนโลยี Wednesday June 23, 2004 13:35 —ThaiPR.net

กรุงเทพฯ--23 มิ.ย.--เอ็มเทค
กำหนดการสัมมนาวิชาการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) ในงานประชุมประจำปี สวทช. 2547 "นาโนเทคโนโลยี ความท้าทายของประเทศไทย" 25-30 มิ.ย. 2547 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย รังสิต
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมเปิดบ้านให้ชมห้อง lab กว่า 20 ห้อง และจัดนิทรรศการโชว์ผลงานนาโนวัสดุ ตลอดจนผลงานวิจัยด้านต่างๆ อาทิ เทคโนโลยีต้นแบบรวดเร็วทางการแพทย์ (Rapid Prototyping Medical (RP)) วัสดุปิดแผลจากไคติน-ไคโตซาน ต้นแบบข้อเข่าเทียมจากวิศวกรรมย้อนรอย วัสดุทดแทนกระดูก ฯลฯ พร้อมจัดสัมมนาวิชาการในงานประชุมประจำปี สวทช. 2547 เนื้อหาสัมมนาประกอบด้วย วัสดุรักษ์สิ่งแวดล้อม Nanotechnology for Flat Panel Display Solar Cells งานวิจัยด้านนาโนวัสดุ Green Design
พิธีเปิด วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2547 เวลา 9.00 น. ณ ห้องประชุม Auditorium ชั้น 1 อาคารสำนักงานกลาง อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปิดการประชุมประจำปีและนิทรรศการนาโนเทคโนโลยี
กำหนดการสัมมนาวิชาการ ส่วนของเอ็มเทค
วันอังคารที่ 29 มิถุนายน 2547
ห้องบุษกร (106) ชั้น 1 อาคารเนคเทค
09.00 น.-10.15 น. สัมมนาวิชาการเรื่อง "วัสดุรักษ์สิ่งแวดล้อม: แนวทางการใช้วัสดุทดแทนและการวิเคราะห์
สารต้องห้ามในชิ้นส่วน/ผลิตภัณฑ์ ตามข้อบังคับของสหภาพยุโรป"
กล่าวรายงานการสัมมนา โดย รศ. ดร. ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ ผู้อำนวยการศูนย์เทค
โนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
เปิดงานสัมมนา และปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ "นโยบายการให้ความสนับสนุนภาคอุตสาหกรรม
ของจังหวัดปทุมธานี" โดย นายชิดพงษ์ ฤทธิประศาสน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี
"บทบาทของหน่วยงานต่าง ๆ ในการให้การสนับสนุนภาคอุตสาหกรรม"
โดย นายจารึก เฮงรัศมี ผู้อำนวยการสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ดร. ขัติยา ไกรกาญจน์ รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สภาอุตสาหกรรมฯ
รศ. ดร. ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
10.15 น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 น.-12.00 น. สรุปสถานภาพและการเตรียมพร้อมเกี่ยวกับกฎระเบียบข้อบังคับของสหภาพยุโรปในประเทศไต้หวัน
เกาหลี และญี่ปุ่น โดย Mr. Raymond Leung,
President, Asian Society for Environmental Protection (ASEP)
Resident Director, Environment and Development Foundation (EDF)
สรุปสถานภาพเกี่ยวกับกฎระเบียบการห้ามใช้สารอันตรายในผลิตภัณฑ์
(RoHS / ELV / EuP) และการใช้วัสดุในผลิตภัณฑ์ แนวทางการทดแทน และวิธีการ
ตรวจสอบสารอันตราย
โดย ดร. นุจรินทร์ รามัญกุล, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
12.00 น.-14.00 น. พักรับประทานอาหาร (ตามอัธยาศัย) และชมนิทรรศการ
14.00 น.-16.30 น. การวิเคราะห์สารปนเปื้อนโดยเทคนิค XRF / EDS / WDX
โดย ผู้เชี่ยวชาญจาก Shimadzu บริษัท พาราไซแอนติฟิค จำกัด
การวิเคราะห์สารปนเปื้อนโดยเทคนิค FTIR / UV-VIS
โดย ผู้เชี่ยวชาญจาก Shimadzu บริษัท พาราไซแอนติฟิค จำกัด
การวิเคราะห์สารปนเปื้อนโดยเทคนิค GC-MS
โดย ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
การวิเคราะห์สารปนเปื้อนโดยเทคนิค AAS / ICP - AES
โดย ผู้เชี่ยวชาญจาก PerkinElmer Ltd.
วันพุธที่ 30 มิถุนายน 2547
ห้อง Auditorium (113) ชั้น 1 อาคารสำนักงานกลาง
09.00 น.-10.30 น. บรรยายเรื่อง "Transparent Conducting Films: Nanotechnology for
Flat Panel Displays, Solar Cells and Low-E Windows"
โดย Professor Yutaka Sawada, Department of Industrial Chemistry,
Graduate School of Engineering, Tokyo Polytechnics University, Japan
10.30 น.-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 น.-12.00 น. อภิปรายเรื่อง "งานวิจัยวัสดุนาโนของศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ"
ร่วมอภิปรายโดย
รศ.ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
ดร.สิทธิสุนทร สุโพธิณะ นักวิจัยทางด้านวัสดุนาโนสำหรับก๊าซเซนเซอร์และสิ่งแวดล้อม
ดร.อังคณา เจริญวรลักษณ์ นักวิจัยด้านอนุภาคนาโนสำหรับเครื่องสำอางและการแพทย์
ดร.ปิยวิทย์ คุ้มพงษ์ นักวิจัยทางด้านเส้นใยนาโนเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิววัสดุสำหรับประยุกต์ใช้
งานในด้านต่างๆ
ดร.รุ้งนภา ทองพูล นักวิจัยด้านวัสดุนาโนสำหรับเซลล์แสงอาทิตย์และฟิล์มเพื่อการเกษตร
ดำเนินการอภิปรายโดย ดร.อ้อยใจ ทองเฌอ และ ดร.ธนศาสตร์ สุขศรี
ห้อง 120 ชั้น 1 อาคารเอ็มเทค
09.00 น.-12.00 น. บรรยายเรื่อง "Green Design Development and Promotion for Industry"
แนะนำงานด้านการพัฒนาและส่งเสริม Green Design ในภูมิภาคเอเชีย และกรณีศึกษาในประเทศ
ไต้หวัน โดย Mr. Raymond Leung, President, Asian Society for Environmental
Protection (ASEP) Resident Director, Environment and Development Foundation (EDF)
งานด้าน Eco Design และ LCA ของกลุ่มวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด
โดย ผศ. ดร.ปมทอง มาลากุล ณ อยุธยา ผอ.กลุ่มวิจัยและพัฒนาโทคโนโลยีสะอาด--จบ--
-นท-

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ