กรุงเทพฯ--26 ก.ย.--ผู้ประสานงาน โครงการ ELMA กระทรวงพาณิชย์
ผู้ชนะการประกวดรางวัล Export Logistics Model Award : ELMA 2012กลุ่มผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์แบบครบวงจร (3PL)
คุณประกิจ วรวัฒนนนท์
ตำแหน่ง Logistics Solution Design Manager บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมนเนจเม้นท์ จากัด
ผู้สัมภาษณ์ : ทาไมถึงตัดสินใจประกวดรางวัล ELMA ในปี 2012
คุณประกิจ : “จริงๆ แรกเริ่มเดิมทีเมื่อ 3 ปีที่แล้ว ได้เริ่มเข้าประกวด อย่างหนึ่งเราเชื่อว่าเรามีการพัฒนาการที่โตขึ้นมาจากในอดีต และหลายอย่างมีการพัฒนาที่เปลี่ยนไป ในแง่ของรางวัลตรงนี้ มีคณะกรรมการที่มีความรู้ ถ้าเราชิงรางวัลตรงนี้ เราน่าจะมีข้อมูลที่น่าปรับปรุงแก้ไข อีกมุมหนึ่งเราเชื่อว่าน่าจะสามารถออกมาแชร์เพื่อนๆ ในวงการ ด้านโลจิสติกส์ร่วมกัน รวมถึงลูกค้าได้เห็นการพัฒนาของเรา”
ผู้สัมภาษณ์ : บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมนเนจเม้นท์ จากัด มี Model อย่างไร ถึงมาพิชิตรางวัล ELMA
คุณประกิจ : “ทุกบริษัทที่มาแข่ง ต้องน้าเสนอ เพื่อให้ลูกค้าได้ทราบและเน้นย้้า ส่วนหนึ่ง เรื่องของการบริหารจัดการได้อย่างต่อเนื่อง BCM ของ SCG คือความผิดปกติทางการเมือง แล้วต้องท้าให้ออฟฟิตหยุดท้าการ 1 สัปดาห์ เหตุการณ์ทางการเมือง รวมถึงน้้าท่วม แต่อย่างไรก็ตาม BCM ท้าให้เราประเมินอยู่ เราสามารถท้าต่อได้เนื่องจากเรามีแผนส้ารองไว้ และท้าอย่างไรให้บริษัทเราได้เป็น ”
ผู้สัมภาษณ์ : รางวัล ELMA ให้อะไร เมื่อได้มา
คุณประกิจ : “เราพอใจกับสิ่งที่ได้กลับมา เรียกว่าเป็นคนกลางที่ช่วยประเมิน โดยคณะกรรมการ ในส่วนที่ไป Present และ On site เพื่อน้ามาประยุกต์ปรับใช้ได้ เปรียบเสมือนเป็นการประกวด การแชร์ในด้านเครื่องมือทางการตลาด เราอยากแชร์ประสบการณ์ สามารถสอบถาม อยากรู้ สามารถสอบถามได้”
ผู้สัมภาษณ์ : เมื่อได้รางวัล ELMA มาแล้วปีหน้าจะทาให้มีความเป็นเลิศและพัฒนาอย่างไร
คุณประกิจ : “ต้องอยู่นิ่งไม่ได้ การอยู่นิ่งท้าให้ถอยหลัง ในส่วนของเทคโนโลยีเข้ามาเสริม สิ่งที่โฟกัสคือเรื่องของ จุดแข็งในรถขนส่ง SCG ไม่มีรถขนส่งของเราเอง เราใช้ out source ในเมื่อเราไม่มีเป็นของตัวเอง เพราะเราไปใช้รายอื่นเราจะท้าอย่างไรถึงมั่นใจว่า เค้าบริการให้ลูกค้าเราได้ดี ซึ่งเป็นจุดที่ส้าคัญมาก เราต้องเข้าไปช่วย และสอน ด้านไอที เป็นตัวที่วิวัฒนาการเร็วมาก ในแง่ในการใช้งาน มันไม่ได้จบแค่ตัวนั้น เป็นโมดูด เป็นเรื่องส้าคัญมาก ถ้าบอกได้ว่า เตือนได้ว่า ก้าลังจะออกแล้วนะ ก้าลังจะเหรดแล้วนะ ไม่ใช่มาบอกแค่นี้ สามารถแก้ไข ท้าให้ความรุนแรงของปัญหาลดลงหรือไม่เกิดขึ้นเป็นต้น”
ผู้สัมภาษณ์ : บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมนเนจเม้นท์ จากัด มีแนวทางอย่างไรในการเตรียมตัวต้อนรับ AEC
คุณประกิจ : “การออกไปต่างประเทศ ถ้ามี AEC เป็นปัจจัยภายนอกตัวหนึ่ง ที่ออกไปต่างประเทศถ้าไม่มี AEC เราก็ต้องออกไปนอกประเทศอยู่ดี หลายๆ บริษัทออกไปตั้งธุรกิจ โรงงาน เราต้องไปยังต่างประเทศ เช่น เวียดนาม จีนตอนใต้ สินค้าเช่น มิตรผล สินค้าเราก็เอนไปที่อินโดนีเซียด้วย สิ่งส้าคัญต้องมาดูปัจจัยภายใน ว่าเรามีความพร้อมหรือไม่ เราต้องท้าที่เมืองไทย ไปใช้ในต่างประเทศ สิ่งที่ส้าคัญมาก การเตรียมความพร้อมของคน ใช่ว่าอีก 2 เดือนคุณต้องไปต่างประเทศนะ เราต้องใช้เวลาเตรียมตัวพอสมควร อยู่ในเมืองไทย อีกภาพหนึ่งคืออยู่ในประเทศและตั้งรับ ผู้ที่เป็นต่างชาติเข้ามา ทั้งขนาดกลาง และขนาดเล็ก ต้องหาไซน์ที่ไม่ใหญ่มาก คือคล่องตัว ไซน์ใหญ่คือค่อนข้างอึดอัด อยู่ในความร่วมไม้ร่วมมือกัน ไม่มากก็น้อย”
ผู้สัมภาษณ์ : สิ่งที่อยากฝากทิ้งท้ายการสัมภาษณ์
คุณประกิจ : “เราจะพัฒนาอย่างไรต่อไป ELMA เป็นเครื่องพิสูจน์ตัวหนึ่ง ธุรกิจยังไงก็ต้องไปข้างหน้า ELMA เป็นตัวบ่งบอกถึงไม่ขี้เหร่ เข้ามาร่วมประกวดเพื่อดูความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งถ้าไม่ได้ก็ไม่น่าเสียใจ เรายังมีคณะกรรมการให้ความเห็นในการปรับปรุงแล้วน้าไปใช้ เราเลือกข้อที่สมควรแก่การปรับมาเปลี่ยนประยุกต์ใช้กับบริษัท อย่างหนึ่งที่เรามีโอกาสได้โชว์คือเรื่องที่เราล้มเหลวแล้วประสบปัญหาและอุปสรรค รางวัล ELMA ช่วยในคลื่นขององค์กร ได้รู้ได้เข้าใจไม่มากก็น้อย ท้าให้เห็นภาพและได้ประโยชน์มากขึ้นๆ กลับกันในแง่ของปัจจุบันที่ค่อนข้างเปิด ปีแรกที่สมัครก็เรื่องหนึ่ง เราไม่เก่งตรงไหนบ้าง แล้วจะท้าอย่างไรเพื่อไม่ให้มันตกอีกครั้งหนึ่ง”
ผู้ชนะการประกวดรางวัล Export Logistics Model Award : ELMA 2012
กลุ่มผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์แบบครบวงจร (3PL)
คุณไชยา เทพสุนทร
ตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไพโอเนียร์ แอร์ คาร์โก้ จากัด
ผู้สัมภาษณ์ : ทำไมถึงตัดสินใจประกวดรางวัล ELMA ในปี 2012
คุณไชยา : “ก่อนที่จะตัดสินใจประกวด เพราะเราได้เมล์ ELMA ว่ามีการประกวด ซึ่งเป็นวันสุดท้ายพอดี จึงตัดสินใจลองดู และจะขอส่งเอกสารให้ทัน ซึ่งตอนนั้นได้ทราบถึงรางวัล ELMA น่าจะสาคัญต่อการทางาน จึงน่าจะมีไว้ การเตรียมข้อมูล จริงๆการตัดสินใจสั้น และมาดูข้อมูลที่พร้อม เลยมารวบรวม และที่สาคัญคืออยากได้รางวัล ELMA ในเมื่ออยากได้ต้องมีแรงผลักดัน ว่าต้องทาอย่างไรเพื่อให้ได้มา ซึ่งดูจากข้อมูล ไม่ใช่เพียงแค่เอกสาร และ Present แล้วนั้น บางครั้งการทางานของบริษัทอาจไม่เหมือนกัน ที่ยากที่สุด คือคณะกรรมการมาตรวจที่องค์กร ถ้าเราไม่ได้ปีนี้ คือเรามีจุดบกพร่องจริงๆ ท่านมีความรู้ความสามารถที่เหนือเรา ถ้าสมัครแล้วได้หรือไม่ได้ ก็ต้องมีความตั้งใจ และการทดลอง”
ผู้สัมภาษณ์ : บริษัท ไพโอเนียร์ แอร์ คาร์โก้ จากัด มี Model อย่างไร ถึงมาพิชิตรางวัล ELMA
คุณไชยา : “บริษัทได้ทาแอร์เฟรตมาตลอดชีวิต 40 ปี ได้แตกลูกมาเป็นอีก 10 บริษัทไม่พูดถึง การส่งสินค้าเราต้องเร็ว เราเป็นบริการที่เร็ว ได้ข้อมูลจากเราเร็ว พอสุวรรณภูมิเปิด สนามบินจะเป็นฟรีโซน คณะกรรมการชอบใจในเรื่องของฟรีโซน และอยู่ในสนามบิน คือสินค้าที่ลงจากเครื่องมาแล้วมาอยู่ในฟรีโซน ไม่เสียภาษี เช่น อะไหล่ฮอนด้าส่งมาให้บริษัทเรา เราสามารถเสียภาษีแค่ชิ้นส่วนนั้น ไม่ได้เสียภาษีทั้งหมด ความสะดวกจริงของเมืองไทยเรามี ทาให้คณะกรรมการหลายท่านสนใจในเรื่องนี้”
ผู้สัมภาษณ์ : รางวัล ELMA ให้อะไร เมื่อได้มา
คุณไชยา : “ทาให้เราภาคภูมิใจ มากกว่า ISO เพราะ ISO เราได้มา 10 ปีแล้ว ELMA ทาให้การตลาดเราเพิ่มยอดขายจากยุค AEC ELMA จะเป็นตรายางอันหนึ่งในภูมิภาคแปซิฟิค โดยผู้สื่อข่าวเข้ามาเยี่ยมชมในบริษัท ถ้าไม่ได้ ELMA ไม่ได้รางวัล คงไม่มีผู้สื่อข่าวมาเยี่ยม ELMA จะทาให้บริษัทเหล่านั้นรู้จักบริษัทได้”
ผู้สัมภาษณ์ : เมื่อได้รางวัล ELMA มาแล้วปีหน้าจะทาให้มีความเป็นเลิศและพัฒนาอย่างไร
คุณไชยา : “มีอาชีพเป็นแอร์เฟรต มา 40 ปีแล้ว ซึ่งถึงในเวลานี้ ตลาดในอเมริกาได้ตายลงแล้ว ยุโรปกาลังล้มละลาย การค้าที่จะเป็นแอร์ของพวกเราเป็นกราฟที่กาลังดิ่งลง บริษัทได้ลดเรื่องแอร์เฟรตลงเพื่อตอบสนอง AEC เรากาลังบุกตลาด การทารถเพื่อข้ามแดน ปีหน้าต้องทารถข้ามแดน และเพื่อรองรับในปี 58 ซึ่งเรากาลังมีธุรกิจในด้านนี้อยู่”
ผู้สัมภาษณ์ : การเตรียมตัวต้อนรับ AEC บริษัท ไพโอเนียร์ แอร์ คาร์โก้ จากัด มีแนวทางอย่างไร
คุณไชยา : “เราจะเริ่มพัฒนาเรื่องรถ เรารับสินค้าที่โรงงาน เมื่อถึงปลายทางก็ลงจากเครื่องบินแล้ว ขึ้นรถ ขึ้นเรือใหม่ แต่เดียวนี้ ถ้าเราประกาศเป็นพื้นดินเดียวกัน ทาให้ค่าใช้จ่ายสูง เราต้องทารถถึงหน้าโรงงาน จะข้ามจากเวียดนามไปจีน เป็นต้น เดี๋ยวนี้มาเลเซียใช้ขนส่งทางรถตลอด รถนาสมัยกว่า เครื่องบินแล้ว”
ผู้สัมภาษณ์ : สิ่งที่อยากฝากทิ้งท้ายการสัมภาษณ์
คุณไชยา : “การที่เรามี ELMA ทาให้องค์กรมีแอคทีฟ ถ้าเราไม่พร้อม กรรมการแนะนามา เราก็ปรับเปลี่ยนเพื่อประกวดในปีหน้าได้ยิ่งดียิ่งขึ้น การได้ ELMA มา มีประโยชน์แน่ รายได้ผลประกอบการก็จะดียิ่งขึ้น”
ผู้ชนะการประกวดรางวัล Export Logistics Model Award : ELMA 2012
กลุ่มผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์แบบครบวงจร (3PL)
คุณวิเชียร จงอภิรมย์สกุล
ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ โลจิสติกส์ จากัด
ผู้สัมภาษณ์ : ทำไมถึงตัดสินใจประกวดรางวัล ELMA ในปี 2012
คุณวิเชียร : “ก็ได้ยินชื่อรางวัลนี้ แล้วก็มั่นใจว่าถ้าใครได้ จะรู้สึกภาคภูมิ มีความเชื่อมั่นในสิ่งที่เรามีต้องแจ๋ว ไม่ใช่เป็นการบอกตัวเอง เป็นคนนอกมาบอก และได้รับมาตรฐานระดับนานาชาติ โดยเข้าประกวดต้องมีคุณวุฒิ และพนักงานเราทาสิ่งที่ยากขึ้น และดียิ่งขึ้น แล้วถ้าเราชนะ จะได้ประกาศให้ชาวโลกรู้ว่า เราก็มีดี การเตรียมข้อมูล ใช้ระยะเวลาไม่นาน ข้อมูลเรามีตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการตั้งเกณฑ์ขึ้นมา ทาอย่างไรให้มีผลสาเร็จ เป็นจริงในสิ่งที่เราเขียน สิ่งที่ได้คือได้ความรู้แน่นอน เพื่อปูทาง นาทาง ”
ผู้สัมภาษณ์ : บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ มี Model อย่างไร ถึงมาพิชิตรางวัล ELMA
คุณวิเชียร : “เรามีหลายๆ ปัจจัยที่เอื้อกัน เราเริ่มดาเนินการพิธีการในการดูแล การนาสินค้ามาจัดเก็บในอุณหภูมิที่ถูกหลัก หรือจะคุมโดยรันหมายเลข เราสามารถทาได้หมด เราไม่สามารถพึ่งพาความสามารถของคน เราสามารถจัดการได้ ลูกค้าเก่งขายของก็ขายของ อยากเคลื่อนย้ายก็เลือกบริการของเรา คลังของเราพนักงานรับทราบคาสั่งแล้วใช้เครื่องมือในการลดข้อผิดพลาด และสิ่งที่เสริมอีกอย่างคือประสบการณ์ที่หลากหลาย ตั้งแต่ขนม สบู่ เคมี อาหาร ฯลฯ เรามีหลายประสบการณ์ เราสามารถดูแลได้ ใช้ความรู้ที่เรามี เราสามารถปรับให้ตอบโจทย์ลูกค้า ต้องใช้แบบของเราเท่านั้นนะ เราจะจัดการให้เบ็ดเสร็จ”
ผู้สัมภาษณ์ : รางวัล ELMA ให้อะไร เมื่อได้มา
คุณวิเชียร : “ให้ความเชื่อมั่น ไม่ใช่เราขายบริการอย่างเดียว เราขายความเชื่อมั่น ให้ลูกค้าเชื่อมั่น และลูกค้ารายใหม่จะมาเชื่อมั่นเราได้อย่างไร การใช้บริการโลจิสติกส์ในเมืองไทย ได้จากัดในการขนส่ง การคลัง บริษัทในประเทศไทยใช้น้อยมาก คนไทยเรายังเชื่อมั่นว่าเราดูและเองได้ การยกกล่องได้ทันเวลา มันเป็นศาสตร์ตัวหนึ่ง ธุรกิจหลายๆอย่างจะสาเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับการเราส่งสินค้าได้ตามเวลา ตราบใดที่มีการขนของ เราทาให้คล้องจองถึงต้นทุนที่เหมาะสม และสามารถตอบโจทย์ที่คุณต้องการ ความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้บริการที่เป็นคนไทยเข้ามาใช้ เราจะให้บริการ และประสบการณ์ที่เรามีได้มาแชร์ ให้กับทุกคนได้รับทราบ ต่อไปต่างชาติ ต้องเข้ามาเก็บเกี่ยวโลจิสติกส์ไทย เราต้องดึงคนที่ไม่อยากทาด้านนี้ ให้เป็นเมื่อใช้บริการต้องนึกถึงเรา ได้รางวัลมาแล้วต้องรักษา และทาให้ดีกว่า ให้ดียิ่งขึ้นเรื่อยๆ และทาให้ดี”
ผู้สัมภาษณ์ : เมื่อได้รางวัล ELMA มาแล้วปีหน้าจะทาให้มีความเป็นเลิศและพัฒนาอย่างไร
คุณวิเชียร : “ความมุ่งมั่นผู้ประกอบการไทยมาใช้ประโยชน์ในสิ่งที่เรามี เราคงต้องมุ่งเน้นการลงทุนในด้านเทคโนโลยีในด้านการทางานที่ดีขึ้น การประหยัดแรงงาน ส่งเสริมไม่ให้คนมาแบกกล่องแน่นอน เริ่มมองหาเทคโนโลยีที่เหมาะสม สุดท้ายการเตรียมพร้อมที่จะรับเนื้องานที่สูงขึ้น เรามีโนฮาวที่ไม่ด้อยไปกว่าต่างประเทศ เป็นกาลังใจให้เราตั้งรับในปีหน้า เชื่อว่าตลาดเมืองไทยมีการพัฒนาได้อีกเยอะ”
ผู้สัมภาษณ์ : การเตรียมตัวต้อนรับ AEC บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ มีแนวทางอย่างไร
คุณวิเชียร : “AEC ทาให้สินค้าวิ่งเข้ามาเมืองไทยเยอะขึ้น และสินค้าไทยได้ออกเยอะขึ้น ก็จะมีโลจิสติกส์ต่างชาติเข้ามาเสริมอีก การตั้งหลักให้พร้อม เค้าต้องมาแย่งเครสกับเรา เราต้องดึงคนท้องถิ่น คนไทยกับคนไทย คนไทยสามารถเรียนรู้กันได้ ทาไมต้องจ่ายแพง บริษัทข้ามชาติก็ใช้คนไทยเหมือนกันหมด”
ผู้สัมภาษณ์ : สิ่งที่อยากฝากทิ้งท้ายการสัมภาษณ์
คุณวิเชียร : “ถ้าใครยังไม่เคยสมัครให้รีบมาสมัคร จะได้รู้เกณฑ์และเหมาะกับการดาเนินเกณฑ์ได้อย่างถูกต้อง ธุรกิจก็ต้องเติบโตอย่างต่อเนื่อง ต้องปรับตัว อย่าคิดว่าถูกสุดต่าสุด ก็อาจได้ไม่ดีที่สุด ส่วนที่เพิ่มเติมอาจเป็นส่วนสาคัญที่สุด ความรู้ต่างๆ สามารถแบ่งปัน เป็นได้ทั้งคู่แข่ง ต่างคนต่างทาหน้าที่ให้ภาพรวมประเทศไทยได้เติบโตขึ้น มีความเป็นไปได้สูงในการบรรลุเป้าหมายเป็นไปได้สูง”