ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง ไตรมาสแรก4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557

ข่าวทั่วไป Friday March 7, 2014 09:47 —ThaiPR.net

กรุงเทพฯ--7 มี.ค.--กลุ่มการประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง นายสมชัย สัจจพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง แถลงข่าวฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง ไตรมาสแรก4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – ธันวาคม มกราคม 25567) ว่า “ฐานะการคลังยังเข้มแข็ง พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย” โดยรัฐบาลมีรายได้นำส่งคลังทั้งสิ้น 659,412 496,246 ล้านบาท ต่ำกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 17,856 5,733 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.6 เนื่องจากในปีที่แล้วมีการนำส่งรายได้จากการประมูลให้ใช้คลื่นความถี่ 3G ย่าน 2.1 GHz จำนวน 20,843 ล้านบาท 1.1 เนื่องจากในปีที่แล้วมีการนำส่งรายได้ จากการประมูลให้ใช้คลื่นความถี่ 3G ย่าน 2.1 GHz จำนวน 20,843 ล้านบาทในขณะที่การเบิกจ่ายเงินงบประมาณมีจำนวนทั้งสิ้น 1,044,267 831,058 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 50,240 45,145 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.1 5.7 ทำให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 384,855 334,812 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 48,199 7,674 ล้านบาท ส่งผลให้รัฐบาลขาดดุลเงินสดรวม 433,054 342,486 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้ กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 83,441 63,294 ล้านบาท ทำให้ดุลเงินสดหลังกู้ขาดดุลทั้งสิ้น 349,613 279,192 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนธันวาคม มกราคม 25576 มีจำนวนทั้งสิ้น 254,311 324,732 ล้านบาท นายสมชัยฯ สรุปว่า “การดำเนินนโยบายการคลังด้านรายได้และรายจ่ายของรัฐบาลในช่วง 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 ยังเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ในขณะนี้เงินคงคลังยังอยู่ในระดับที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการดำเนินนโยบายเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจและการเมืองในปัจจุบัน”จากการดำเนินนโยบายเร่งรัดการเบิกจ่ายในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้อัตราการเบิกจ่ายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2557 สูงกว่าเป้าหมายซึ่งจะส่งผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ประกอบกับฐานะการคลังที่อยู่ในระดับที่เข้มแข็ง จะเป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุน ให้กระทรวงการคลังสามารถดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุลเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยได้อย่างต่อเนื่องในสภาวะความอ่อนไหวด้านการเมืองที่มีผลต่อเศรษฐกิจไทย” ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด ไตรมาสแรก4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 หน่วย: ล้านบาท 4 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ2557 ปีงบประมาณ2556 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 659,412 677,268 (17,856) (2.6) 2. รายจ่าย 1,044,267 994,027 50,240 5.1 3. ดุลเงินงบประมาณ (384,855) (316,759) (68,096) 21.5 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (48,199) (137,319) 89,120 (64.9) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4) (433,054) (454,078) 21,024 (4.6) 6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 83,441 117,823 (34,382) (29.2) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6) (349,613) (336,255) (13,358) 4.0 8. เงินคงคลังปลายงวด 254,311 224,082 30,229 13.5 ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง รายละเอียดเพิ่มเติม ดูได้จาก www.fpo.go.th สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร 0 2273 9020 ต่อ 3568 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดประจำเดือนธันวาคม มกราคม 25576 และในช่วง ไตรมาสแรก4 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – ธันวาคม มกราคม 25567) ในเดือนธันวาคม มกราคม 25567 รัฐบาลขาดดุลเงินสดจำนวน 90,568 131,971 ล้านบาท โดยเป็นการ ขาดดุลเงินงบประมาณ 51,677 152,693 ล้านบาท และดุลเงินนอกงบประมาณเกินดุล ขาดดุล 38,891 20,722 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วง ไตรมาสแรก4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 รัฐบาลขาดดุลเงินสดจำนวน 433,054 342,486 ล้านบาท ทั้งนี้รัฐบาลได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 83,441 63,294 ล้านบาท ส่งผลให้เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนธันวาคม มกราคม 25576 มีจำนวนเท่ากับ 254,311 324,732 ล้านบาท ซึ่งเป็นระดับที่มีความมั่นคงต่อฐานะการคลังของรัฐบาล โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ฐานะการคลังเดือนธันวาคม มกราคม 25576 1.1 รัฐบาลมีรายได้นำส่งคลัง 161,532 164,289 ล้านบาท ต่ำกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 13,441 19,890ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 7.710.8) เนื่องจากการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และการใช้สิทธิส่วนใหญ่ในโครงการรถยนต์คันแรกเกือบครบทั้งโครงการแล้วในปีงบประมาณ 2556ในปีที่แล้วมีการนำส่งรายได้จากการประมูลให้ใช้คลื่นความถี่ 3G ย่าน 2.1 GHz จำนวน 20,843 ล้านบาท 1.2 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณทั้งสิ้น 213,209 316,982 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว 5,095 143,049 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 2.482.2) ประกอบด้วยรายจ่ายประจำ 177,496 175,127 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.2 33.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้ว และรายจ่ายลงทุน 8,898 109,129 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.5 1,410.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ส่วนการเบิกจ่ายเงินจากงบประมาณปีก่อนจำนวน 26,814 32,726 ล้านบาท ต่ำกว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 0.8 8.1 (ตารางที่ 1) การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่สำคัญในเดือนนี้ ได้แก่รายจ่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 34,887 ล้านบาท รายจ่ายเงินอุดหนุนของกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น 111,826 ล้านบาท รายจ่ายชำระหนี้กระทรวงการคลังของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 24,31915,017 ล้านบาท รายจ่ายของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา 10,800 ล้านบาท และและรายจ่ายเงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 9,44510,517 ล้านบาท ตารางที่ 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณเดือนธันวาคม มกราคม 25576 หน่วย: ล้านบาท มกราคม เปรียบเทียบ 2557 2556 จำนวน ร้อยละ 1. รายจ่ายปีปัจจุบัน 186,395 181,092 5,303 2.9 1.1 รายจ่ายประจำ 177,496 173,709 3,787 2.2 1.2 รายจ่ายลงทุน 8,898 7,383 1,515 20.5 2. รายจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 26,814 27,022 (208) (0.8) 3. รายจ่ายรวม (1+2) 213,209 208,114 5,095 2.4 ที่มา: กรมบัญชีกลาง 1.3 จากรายได้นำส่งคลังและการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของรัฐบาลข้างต้นส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณในเดือนธันวาคม มกราคม 25576 ขาดดุล 51,677 152,693 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล ขาดดุล 38,891 20,722 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักจากการไถ่ถอนตั๋วเงินคลังสุทธิ 20,000 ล้านบาท และมีรายจ่ายที่เหลื่อมไปมาจากเดือนที่แล้วถัดไปประมาณ 202,000 ล้านบาท ทั้งนี้ รัฐบาลได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 20,147 46,294 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสด (หลังกู้ชดเชยการขาดดุล) ขาดดุลเท่ากับ 70,421 85,677 ล้านบาท (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดเดือนธันวาคม มกราคม 25576 หน่วย: ล้านบาท มกราคม เปรียบเทียบ 2557 2556 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 161,532 174,973 (13,441) (7.7) 2. รายจ่าย 213,209 208,114 5,095 2.4 3. ดุลเงินงบประมาณ (51,677) (33,141) (18,536) 55.9 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (38,891) (16,800) (22,091) 131.5 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4) (90,568) (49,941) (40,627) 81.3 6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 20,147 14,887 5,260 35.3 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6) (70,421) (35,054) (35,367) 100.9 ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 2. ฐานะการคลังในช่วง ไตรมาสแรก4 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – ธันวาคม มกราคม 25567) 2.1 รายได้นำส่งคลัง รัฐบาลมีรายได้นำส่งคลังทั้งสิ้น 659,412 496,246 ล้านบาท ต่ำกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 17,856 5,733 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 2.61.1) 2.2 รายจ่ายรัฐบาล การเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐบาลมีจำนวนทั้งสิ้น 1,044,267831,058 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 50,240 45,145 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 5.15.7) ประกอบด้วยรายจ่ายปีปัจจุบัน 947,220 760,825 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30.137.5 ของวงเงินงบประมาณ (2,525,000 ล้านบาท) สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.5 8.7 และรายจ่ายปีก่อน 97,047 70,233 ล้านบาท ต่ำกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 14.2 18.5 (ตารางที่ 3) รายจ่ายปีปัจจุบันจำนวน 947,220 760,825 ล้านบาท ประกอบด้วยรายจ่ายประจำ 821,758 644,282ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.8 0.5 และรายจ่ายลงทุน 125,461 116,543 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 90.7 ตารางที่ 3 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณในช่วงไตรมาสแรก4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – ธันวาคม มกราคม 25576) หน่วย: ล้านบาท 4 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 จำนวน ร้อยละ 1. รายจ่ายปีปัจจุบัน 947,220 880,871 66,349 7.5 1.1 รายจ่ายประจำ 821,758 815,074 6,684 0.8 1.2 รายจ่ายลงทุน 125,461 65,797 59,664 90.7 2. รายจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 97,047 113,156 (16,109) (14.2) 3. รายจ่ายรวม (1+2) 1,044,267 994,027 50,240 5.1 ที่มา: กรมบัญชีกลาง 2.3 ดุลการคลังรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด ขาดดุล 433,054 342,486 ล้านบาท โดยเป็นการขาดดุลเงินงบประมาณ 384,855 334,812 ล้านบาท และการขาดดุลเงินนอกงบประมาณจำนวน 48,199 7,674 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการไถ่ถอนตั๋วเงินคลังสุทธิ 22,13542,135 ล้านบาท การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ที่เหลื่อมจ่ายจากปีงบประมาณ 2556 จำนวน 23,667 ล้านบาท และรายรับจากการชดใช้เงินคงคลัง 13,424 ล้านบาท และรายรับจากการชดใช้เงินคงคลัง 13,424 ล้านบาท ทั้งนี้ รัฐบาลได้บริหารเงินสดให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงิน โดยชดเชยการขาดดุล ด้วยการกู้จำนวน 83,441 63,294 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสด (หลังการกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล) ขาดดุลเท่ากับ 349,613 279,192 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนธันวาคม มกราคม 25576 มีจำนวนทั้งสิ้น 254,311 324,732 ล้านบาท (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง ไตรมาสแรก4 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม 2556 – มกราคม 2557)(ตุลาคม – ธันวาคม 2556) หน่วย: ล้านบาท 4 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 659,412 677,268 (17,856) (2.6) 2. รายจ่าย 1,044,267 994,027 50,240 5.1 3. ดุลเงินงบประมาณ (384,855) (316,759) (68,096) 21.5 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (48,199) (137,319) 89,120 (64.9) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4) (433,054) (454,078) 21,024 (4.6) 6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 83,441 117,823 (34,382) (29.2) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6) (349,613) (336,255) (13,358) 4.0 8. เงินคงคลังปลายงวด 254,311 224,082 30,229 13.5 ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร 0-2273-9020 ต่อ 3568

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ