เชิญสื่อมวลชนร่วมงานแถลงข่าวการจัดประกวด NECTEC Festival และเชิญร่วมงานสัมมนา"กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ"

ข่าวเทคโนโลยี Tuesday July 24, 2001 14:26 —ThaiPR.net

กรุงเทพฯ--24 ก.ค.--เนทเทค
ด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค/สวทช.) จัดแถลงข่าวและสัมมนา ดังนี้
1. ฝ่ายสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา จัดให้มีการแถลงข่าวการประกวด NECTEC Festival ซึ่งมีโครงการ NSC.2002 และโครงการ YSC.CS & YSC.En 2002 รวมทั้งแนวทางความร่วมมือกับบริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) ณ ห้องบอลรูม C โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ ในวันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2544 เวลา 13.30 น.-17.00 น.
2.งานสัมมนา"กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ" โดย โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ร่วมกับ สำนักงานศาลยุติธรรม กระทรวงยุติธรรมและสำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา ในวันอังคารที่ 31 กรกฎาคม ถึงวันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม 2544 เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอกกรุงเทพมหานคร
จีงขอเรียนเชิญสื่อมวลชนทุกท่านเข้าร่วมงาน ตามวัน เวลาและสถานที่ดังกล่าว
กำหนดการ
งานแถลงข่าว
การจัดการประกวด NECTEC Festival
วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2544 เวลา 13.30 น. - 17.00น.
ณ ห้องบอลรูม ซี โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ
***************************************************************
13.00 - 14.00 น. ลงทะเบียน
14.00 - 14.20 น. กล่าวเปิดงาน
โดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
14.20 - 15.20 น. แถลงข่าวโครงการ NECTEC Festival
โดย ดร.กว้าน สีตะธนี
รองผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
* โครงการ YSC.CS & YSC.En 2002
แนวทางความร่วมมือกับบริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์
(ประเทศไทย) จำกัด พร้อมชมวิดิทัศน์
* โครงการ NSC 2002
15.20 - 15.30 น. ตอบขอซักถามสื่อมวลชน
15.30 - 15.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.45 - 16.30 น, ประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมโครงการ YSC.CS 2001
โดย นายศุภศักดิ์ กุลวงศ์อนันชัย และนายณฤทธิ์ บุญให้เจริญ
ตัวแทนประเทศไทย เข้าร่วมแข่งขัน Intel IFEF 2 ครั้งที่ 52 ที่สหรัฐอเมริกา
16.30 - 17.00 น. ตอบข้อซักถาม
กำหนดการสัมมนา "กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ"
ในวันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2544 ถึงวันศุกร์ ที่ 3 สิงหาคม 2544
ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพมหานคร
โดย
โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
ร่วมกับ
สำนักงานศาลยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
วันอังคาร ที่ 31 กรกฎาคม 2544 กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ( ห้องประชุม ESCAP HALL)เวลา 8.00 น. - 8.45 น. ลงทะเบียนเวลา 8.45 น. - 9.30 น. กล่าวรายงาน -โดย ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ กล่าวเปิดงาน โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อม (นายสนธยา คุณปลื้ม)เวลา 9.30 น. - 10.30 น. -หลักการ เหตุผล และความจำเป็นในการตรากฎหมายโดย
- ศ.คนึง ฦๅไชย ประธานคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อยกร่างกฎหมาย ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ รอง ประธานคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อยกร่างกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
- นายประสพสุข บุญเดช อธิบดีผู้พิพากษาศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่าง ประเทศกลาง กรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. …. วุฒิสภา
- พัฒนาการทางเทคโนโลยีในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์โดย
ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เวลา 10.30 น. -10.45 น. พักเวลา 10.45 น. - 12.00 น. - หลักการของร่างพระราชบัญญัติโดย
- นายพนัส ทัศนียานนท์ วุฒิสมาชิกและกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็ก ทรอนิกส์ พ.ศ. …. วุฒิสภา
- ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
- ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุลผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยี สารสนเทศแห่งชาติ q ดำเนินการบรรยาย โดย นางสาวสุรางคณา แก้วจำนงค์ หัวหน้าโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 12.00 น. - 13.30 น. พักเวลา 13.30 น. - 15.30 น. - เสวนาความเห็นที่มีต่อร่างพระราชบัญญัติโดย
- นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. …. สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
- นายเสรี สุวรรณภานนท์วุฒิสมาชิกและกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็ก ทรอนิกส์ พ.ศ. …. วุฒิสภาท นายเข็มชัย ชุติวงศ์ อัยการพิเศษฝ่ายสัญญาและหารือ 1 สำนักงานอัยการสูงสุด
- นายมนู อรดีดลเชษฐ์ นายกสมาคมกิตติมศักดิ์ สมาคมธุรกิจคอมพิวเตอร์ไทย
- ร่วมเสวนาและดำเนินการเสวนา โดย ดร. พินัย ณ นคร อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เวลา 15.30 น.- 15.45 น. พักเวลา 15.45 น. - 16.30 น. คำถามและคำตอบวันพุธที่ ที่ 1 สิงหาคม 2544 ( ห้องประชุม ESCAP HALL)กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เวลา 8.30 น. - 9.00 น. ลงทะเบียนเวลา 9.00 น. - 10.15 น. - หลักการ เหตุผล และความจำเป็นในการตรากฎหมายโดย ศ.ดร. คณิต ณ นคร ประธานคณะอนุกรรมการ เฉพาะกิจเพื่อพิจารณายกร่างกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
- พัฒนาการทางเทคโนโลยีกับการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติเวลา 10.15 น. -10.30 น. พักเวลา 10.30 น. - 12.30 น. - หลักการของร่างพระราชบัญญัติและกรณีศึกษาโดย
- นายสมบัติ เดียวอิศเรศ อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญา
- นายวันชัย รุจนวงศ์ ผู้อำนวยการสถาบันกฎหมายอาญา สำนักงานอัยการสูงสุด
- ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ กรมบังคับคดี ช่วยปฏิบัติราชการสำนักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม
- พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน รองผู้บังคับบัญชาศูนย์ข้อมูลสนเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- ผู้แทนสภาความมั่นคงแห่งชาติ q ดำเนินการบรรยายโดย นางสาวสุรางคณา แก้วจำนงค์ หัวหน้าโครงการพัฒนา กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเวลา 12.30 น. - 13.30 น. พักเวลา 13.30 น. - 15.00 น. - เสวนาความเห็นที่มีต่อร่างพระราชบัญญัติโดย
- นายจรัญ ภักดีธนากุล ผู้พิพากษา ศาลอุทธรณ์
- นายวีระพงษ์ บุญโญภาส คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- นายทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- นายณรงค์ ใจหาญ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์เดชอุดม แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด
- นายวันฉัตร ผดุงรัตน์ ประธานชมรมไทยเว็บมาสเตอร์
- ร่วมเสวนาและดำเนินการสวนาโดย นายชาญเชาว์ ไชยานุกิจ สำนักงานอัยการสูงสุดเวลา 15.00 น.- 15.15 น. พักเวลา 15.15 น. - 16.30 น. คำถามและคำตอบ
วันพฤหัสบดี ที่ 2 สิงหาคม 2544 ( ห้องประชุม ESCAP HALL)กฎหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเวลา 8.30 น. - 9.00 น. ลงทะเบียนเวลา 9.00 น. - 10.30 น. - หลักการ เหตุผล และความจำเป็นในการตรากฎหมาย โดย ศ. เศรษฐพร คูศรีพิทักษ์ อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข ประธานคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อพิจารณายกร่างกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล
- พัฒนาการทางเทคโนโลยีกับการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลโดย ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล ผู้อำนวยการสำนักงาน เลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติเวลา 10.30 น. -10.45 น. พักเวลา 10.45 น. - 12.00 น. - หลักการของร่างพระราชบัญญัติ โดย นายไพโรจน์ วายุภาพ รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลแพ่ง
- กลไกการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดย นายคมสัน โพธิ์คง นิติกร 6 สำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา q การโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังประเทศที่สาม และ Safe Habour Agreement ระหว่างสหรัฐ อเมริกาและสหภาพยุโรปโดย นางสาวสุรางคณา แก้วจำนงค์ หัวหน้าโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศ
- ดำเนินการบรรยาย โดย นางสาวอรดา เทพยายน ผู้ช่วยนักวิจัย 2 โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศเวลา 12.00 น. - 13.30 น. พักเวลา 13.30 น. - 15.00 น. - เสวนาความเห็นที่มีต่อร่างพระราชบัญญัติโดย
- นายรองพล เจริญพันธ์รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- นายเกริก วณิกกุล ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายกฎหมาย ธนาคารแห่งประเทศไทย
- ดร.เลอสรร ธนสุกาญจน์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผู้พิพากษาสมทบ ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและ การค้าระหว่างประเทศกลาง
- ผศ. ดร. กิตติศักดิ์ ปรกติ คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ ทางราชการ คณะทำงานในการยกร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
- นายเธียรชัย ณ นคร คณะนิติศาสตร์ สุโขทัยธรรมาธิราช, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการข้อมูลข่าวสารของ ทางราชการ, อนุกรรมการในการยกร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
- นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์อุปนายกฝ่ายนโยบายและแผนงาน สภาทนายความ
- นางเอมอร จนิษฐ กรรมการสมาคมธุรกิจคอมพิวเตอร์ไทย อนุกรรมการใน การยกร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล
- ร่วมเสวนาและดำเนินการเสวนาโดย ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ คณะทำงานในการยกร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคลเวลา 15.00 น.- 15.15 น. พักเวลา 15.15 น. - 16.30 น. คำถามและคำตอบ
วันศุกร์ ที่ 3 สิงหาคม 2544 กฎหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ( ห้อง CR 1)เวลา 8.30 น. - 9.00 น. ลงทะเบียนเวลา 9.00 น. - 10.30 น. - หลักการ เหตุผล และความจำเป็นในการตรากฎหมายโดย
- นายดิเรก เจริญผล ประธานอนุกรรมการเฉพาะกิจยกร่างกฎหมายลำดับรองของรัฐธรรมนูญ มาตรา 78ท ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
- รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทรคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เวลา 10.30 น. -10.45 น. พักเวลา 10.45 น. - 12.00 น. - หลักการสำคัญของร่างพระราชบัญญัติโดย
- ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
- นายมณเฑียร บุญตันมหาวิทยาลัยมหิดล
- นายสมบัติ บุญงามอนงค์ กลุ่มศิลปะกระจกเงา
- นายสุรชัย ศรีสารคามผู้อำนวยการศูนย์ประมวลผลการทะเบียน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย
- ร่วมบรรยายและดำเนินการบรรยายโดย ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล ผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการคณะ กรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติเวลา 12.00 น. - คำถามและคำตอบ
กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ( ห้อง CR 1)เวลา 13.00 - 13.30 ลงทะเบียนเวลา 13.30 น. - 15.00 น. - หลักการ เหตุผล และความจำเป็นในการตรากฎหมาย โดย ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล q วิธีการชำระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์ โดย นางเสาวณี สุวรรณชีพ ผู้อำนวยการอาวุโส สายระบบการชำระเงินธนาคารแห่งประเทศไทยเวลา 15.00 น.- 15.15 น. พักเวลา 15.15 น. - 16.30 น. - หลักการของกฎหมายโดย
- นายเกริก วณิกกุล ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายกฎหมาย ธนาคารแห่งประเทศไทย
- นายไชยวัฒน์ บุนนาค อนุกรรมการเฉพาะกิจยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
- ดร.อมฤต เหล่ารักพงษ์ หัวหน้าสำนักงานเทคโนโลยีประยุกต์ ธนาคารไทยพาณิชย์
- ร่วมบรรยายและดำเนินการบรรยายโดย ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ศูนย์ธรรมศาสตร์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เวลา 16.30 น. คำถามและคำตอบหมายเหตุ - รายการบางรายการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม- มีบริการเครื่องดื่มระหว่างพักการสัมมนาช่วงเช้าและช่วงบ่าย--จบ--
-อน-

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ