ผลการประกวด Thailand Energy Awards 2008

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday July 24, 2008 11:41 —ThaiPR.net

กรุงเทพฯ--24 ก.ค.--กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
กระทรวงพลังงาน โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้จัดการประกวด Thailand Energy Awards 2008 ขึ้น โดยแบ่งการประกวดออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านอนุรักษ์พลังงาน และด้านพลังงานทดแทน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ด้านอนุรักษ์พลังงาน แบ่งการประกวดออกเป็น 5 ประเภทย่อย ได้แก่ ประเภทโรงงาน ประเภทอาคาร ประเภทบุคลากร ประเภทผู้ส่งเสริมด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน และประเภทนวัตกรรมทางด้านอนุรักษ์พลังงาน (Special Submission) โดยมีผู้สมัครเข้าประกวด ทั้งสิ้น 137 แห่ง ดังนี้ - ประเภทโรงงาน จำนวน 58 แห่ง - ประเภทอาคาร จำนวน 36 แห่ง - ประเภทบุคลากร จำนวน 27 แห่ง - ประเภทผู้ส่งเสริมด้านการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน (คัดเลือกด้วยวิธีสรรหา) - ประเภทSpecial Submission (คัดเลือกด้วยวิธีสรรหา) 2. ด้านพลังงานทดแทน ประกวดประเภทพลังงานหมุนเวียน โดยแบ่งการประกวดออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (ON-GRID) ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (OFF-GRID) และประเภทโครงการโรงไฟฟ้าความร้อนร่วมจากชีวมวล (BIOMASS CO-GENERATION POWER PLANT) โดยมีผู้สมัครเข้าประกวดจำนวนทั้งสิ้น 16 แห่ง ? ด้านอนุรักษ์พลังงาน แบ่งการประกวดออกเป็น 5 ประเภท จำนวน 43 รางวัล 1. รางวัลดีเด่นประเภทโรงงาน จำนวน 13 รางวัล โรงงานควบคุม ได้แก่ 1. บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด (สมุทรปราการ) 2. บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) 3. บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด (โรงงานเกตเวย์) 4. บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินีแบ ไทย จำกัด (กลุ่มบริษัท มินีแบ โรงงานบางปะอิน) 5. บริษัท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จำกัด 6. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด(มหาชน) (โรงงานผลิตอาหารสัตว์น้ำมหาชัย) 7. บริษัท สยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำกัด 8. บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) 9. บริษัท เอสอีดับบลิวเอส-คอมโพเนนท์ (ประเทศไทย) จำกัด 10. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด (กิจการอาหารสำเร็จรูป) 11. บริษัท แพนเอเซียอุตสาหกรรม จำกัด โรงงานนอกข่ายควบคุม ได้แก่ 1. บริษัท เซ็นเตอร์ คอนเทนเนอร์ จำกัด 2. บริษัท บรรจงอินดัสเตรียล จำกัด 2.รางวัลดีเด่นประเภทอาคาร จำนวน 7 รางวัล อาคารควบคุม ได้แก่ 1. โรงพยาบาลหาดใหญ่ 2. อาคาร ซี.พี. ทาวเวอร์(สีลม) 3. อาคารฟอร์จูนทาวน์ (ส่วนพลาซ่า) 4. อาคารสำนักงานใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อาคารนอกข่ายควบคุม ได้แก่ 1. บริษัท ไวร์เออ แอนด์ ไวร์เลส จำกัด อาคารสร้างสรรค์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน อาคารใหม่ ได้แก่ 1. อาคารศูนย์ปฏิบัติการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) 2. อาคารสำนักงานคลังน้ำมันสุวรรณภูมิ 3. รางวัลดีเด่นประเภทบุคลากร จำนวน 9 รางวัล ผู้บริหาร โรงงานควบคุม ได้แก่ 1. นายสนั่น อังอุบลกุล บริษัท ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ จำกัด (มหาชน) 2. นายนาโอคิ โอโน บริษัท ไทยออโต้เวิคส จำกัด อาคารควบคุม ได้แก่ 1. เรืออากาศโทอภินันท์ สุมนะเศรณี บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน โรงงานควบคุม ได้แก่ 1. นายปกรณ์ ชิตตระกูล บริษัท ควอลิตี้ คอฟฟี่ โปรดักส์ จำกัด 2. นายสาธิต วิสุทธิชาติ บริษัท ฮีโน่มอเตอร์สแมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด (ชลบุรี) 3. นายไพฑูรย์ ชาวบางแก้ว บริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี (ไทยแลนด์) จำกัด 4. นายอุทัย พวงสายใจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (โรงไฟฟ้าแม่เมาะ) 5. นายพิพัฒน์ เขมาวุฆฒ์ บริษัท ไดกิ้นอินดัสทรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ปฎิบัติการด้านพลังงาน อาคารนอกข่ายควบคุม 1. นายภาณุ เตชะพูลผล บริษัท ไวร์เออ แอนด์ ไวร์เลส จำกัด 4. รางวัลผู้ส่งเสริมด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน จำนวน 12 รางวัล สถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สมาคม องค์กร หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร สถานีโทรทัศน์ ได้แก่ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ ได้แก่ บริษัท ทีวีบูรพา จำกัด สถานีวิทยุ ได้แก่ สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ผลิตรายการวิทยุ ได้แก่ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำกัด (มหาชน) รายการวิทยุกรีนเวฟ FM 106.5 MHz หนังสือพิมพ์ (กลุ่มทั่วไป) ได้แก่ หนังสือพิมพ์โพสต์ ทูเดย์ หนังสือพิมพ์ (เฉพาะกลุ่มเป้าหมาย) ได้แก่ หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ นิตยสาร (กลุ่มทั่วไป) ได้แก่ นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ นิตยสาร (เฉพาะกลุ่มเป้าหมาย) ได้แก่ นิตยสารเกียร์ 5. ประเภทนวัตกรรมทางด้านอนุรักษ์พลังงาน (Special Submission) จำนวน 2 รางวัล ได้แก่ 1. โครงการต้นแบบระบบผลิตไฟฟ้าและปรับอากาศด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2. บ้านที่อยู่อาศัยประหยัดพลังงานประเภทบ้านเดี่ยว (Low Energy House) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ? ด้านพลังงานทดแทน แบ่งการประกวดออกเป็น 3 ประเภท จำนวน 8 รางวัล 1. ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (ON-GRID) รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงแกลบ : บริษัท มุ่งเจริญ กรีนเพาเวอร์ จำกัด รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ โครงการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพ จากน้ำเสียของโรงงานแปรรูปมันสำปะหลังด้วยระบบ Anaerobic Baffled Reactor, ABR : บริษัท สงวนวงษ์อุตสาหกรรม จำกัด 2. ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (OFF-GRID) รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โครงการการพัฒนาระบบก๊าซชีวภาพแบบ UASB (Ponds Type) บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ โครงการพลังงานความร้อนทดแทนการใช้เชื้อเพลิงก๊าซแอลพีจี บริษัท ฉลองอุตสาหกรรมน้ำยางข้น จำกัด รางวัลชมเชย ได้แก่ โครงการการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) 3. ประเภทโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจากชีวมวล (BIOMASS CO-GENERATION POWER PLANT) รางวัลชนะเลิศ โครงการระบบทำความเย็นแบบดูดซึมจากโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนน้ำมันยางดำ บริษัท แอ๊ดวานซ์ อะโกร จำกัด (มหาชน) โครงการ 2 รางวัลชมเชย โครงการการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ โดยใช้กากอ้อยที่ได้จากกระบวนการผลิตน้ำตาล บริษัท น้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ