แม้จะยังไม่มีการประกาศชัดเจนว่าจะมีการเลือกตั้งแน่นอนในวันใด แต่บรรดานักการเมืองก็เริ่มเดินวิ่งกันขวักไขว่เพื่อเข้าสู่สนามรบทาง
การเมือง พร้อมทั้งขุดกลยุทธ์ในการต่อสู้ทุกรูปแบบเพื่อชนะการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง คำถามก็คือประชาชนคิดอย่างไรกับนักการเมืองเหล่านี้ ศูนย์
ประชามติจึงให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีภูมิลำเนาแต่ละภูมิภาค จำนวน 1320 คน ประเมินเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2550 ในหัวข้อ
“ภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในสายตาประชาชน” เพื่อสะท้อนความรู้สึกของประชาชนที่มีต่อนักการเมือง โดยให้เป็นคะแนน
ผลการประเมินภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในปัจจุบันพบว่าจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน สอบผ่านคือได้คะแนนเกิน 5 คะแนน
เพียง 3 ด้าน คือ
อันดับ 1 ความรู้ความสามารถในการทำงานสาธารณะ 5.55 คะแนน
อันดับ 2 การคิดริเริ่มงานใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม 5.21 คะแนน
และ อันดับ 3 การช่วยเหลือประชาชนอย่างเต็มที่ 5.16 คะแนน
ที่เหลือสอบตก คือ อันดับ 4 การทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว 4.86 คะแนน
อันดับ 5 การทำงานใกล้ชิดประชาชนหลังสอบผ่านการเลือกตั้งแล้ว 4.68 คะแนน
อันดับ 6 การหาเสียงโดยแสดงความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ ไม่โจมตีคู่แข่ง 4.58 คะแนน
อันดับ 7 การคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนมากกว่าพรรคการเมืองของตน 4.50 คะแนน
อันดับ 8 ความโปร่งใสในการทำงาน 4.47 คะแนน เท่ากับการเป็นที่พึ่งของประชาชนอย่างแท้จริง
และ อันดับสุดท้าย การหาเสียงโดยไม่ใช้เงินซื้อเสียง 4.33 คะแนน
เมื่อให้ประเมินความเหมาะสมของบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปพบว่าจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
มีผู้สอบผ่านคือได้คะแนนเกิน 5 คะแนนเพียง 4 คน คือ
อันดับ 1 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6.78 คะแนน
อันดับ 2 ร.ต.อ. ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 6.35 คะแนน
อันดับ 3 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 5.86 คะแนน
และอันดับ 4 พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน 5.05 คะแนน
ที่ได้คะแนนไม่ถึงครึ่งโดยเข้ามาเป็น อันดับ 5 คือ นายบรรหาร ศิลปอาชา 4.73 คะแนน
อันดับ 6 พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร 4.65 คะแนน
อันดับ 7 พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ 4.37 คะแนน
อันดับ 8 นายเสนาะ เทียนทอง 4.29 คะแนน
อันดับ 9 นายสมัคร สุนทรเวช 4.28 คะแนน
และอันดับ 10 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ 4.23 คะแนน
จะเห็นได้ว่าในสายตาประชาชน นักการเมืองไทยมีภาพลักษณ์ทางลบมากกว่าทางบวก วงจรนักการเมืองยังคงเป็นแบบเก่าๆ ไม่ได้ชิงชัย
กันด้วยความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ยังอิงแอบอยู่กับเรื่องของผลประโยชน์ การโจมตีซึ่งกันและกัน การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแอบอ้างว่าเป็นความ
ต้องการของประชาชน และในที่สุดก็สอดไส้ด้วยผลประโยชน์ส่วนตัวและพรรคพวก เมื่อถึงฤดูเลือกตั้ง ก็เกิดปรากฏการณ์ “เหล้าเปลี่ยนขวด” เช่นเดิม
ตารางที่ 1 อันดับคะแนนเฉลี่ยภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในปัจจุบันตามการประเมินของกลุ่มตัวอย่าง จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
อันดับ ภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในปัจจุบัน คะแนนเฉลี่ย
1 ความรู้ความสามารถในการทำงานสาธารณะ 5.55
2 การคิดริเริ่มงานใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม 5.21
3 การช่วยเหลือประชาชนอย่างเต็มที่ 5.16
4 การทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว 4.86
5 การทำงานใกล้ชิดประชาชนหลังสอบผ่านการเลือกตั้งแล้ว 4.68
6 การหาเสียงโดยแสดงความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ ไม่โจมตีคู่แข่ง 4.58
7 การคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนมากกว่าพรรคการเมืองของตน 4.5
8 ความโปร่งใสในการทำงาน 4.47
8 การเป็นที่พึ่งของประชาชนอย่างแท้จริง 4.47
9 การหาเสียงโดยไม่ใช้เงินซื้อเสียง 4.33
ตารางที่ 2 อันดับคะแนนเฉลี่ยความเหมาะสมของบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป ตามการประเมินของกลุ่มตัวอย่าง จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
อันดับ บุคคลที่เหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรี คะแนนเฉลี่ย
1 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6.78
2 ร.ต.อ. ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 6.35
3 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 5.86
4 พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน 5.05
5 นายบรรหาร ศิลปอาชา 4.73
6 พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร 4.65
7 พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ 4.37
8 นายเสนาะ เทียนทอง 4.29
9 นายสมัคร สุนทรเวช 4.28
10 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ 4.23
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-
การเมือง พร้อมทั้งขุดกลยุทธ์ในการต่อสู้ทุกรูปแบบเพื่อชนะการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง คำถามก็คือประชาชนคิดอย่างไรกับนักการเมืองเหล่านี้ ศูนย์
ประชามติจึงให้ประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีภูมิลำเนาแต่ละภูมิภาค จำนวน 1320 คน ประเมินเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2550 ในหัวข้อ
“ภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในสายตาประชาชน” เพื่อสะท้อนความรู้สึกของประชาชนที่มีต่อนักการเมือง โดยให้เป็นคะแนน
ผลการประเมินภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในปัจจุบันพบว่าจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน สอบผ่านคือได้คะแนนเกิน 5 คะแนน
เพียง 3 ด้าน คือ
อันดับ 1 ความรู้ความสามารถในการทำงานสาธารณะ 5.55 คะแนน
อันดับ 2 การคิดริเริ่มงานใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม 5.21 คะแนน
และ อันดับ 3 การช่วยเหลือประชาชนอย่างเต็มที่ 5.16 คะแนน
ที่เหลือสอบตก คือ อันดับ 4 การทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว 4.86 คะแนน
อันดับ 5 การทำงานใกล้ชิดประชาชนหลังสอบผ่านการเลือกตั้งแล้ว 4.68 คะแนน
อันดับ 6 การหาเสียงโดยแสดงความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ ไม่โจมตีคู่แข่ง 4.58 คะแนน
อันดับ 7 การคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนมากกว่าพรรคการเมืองของตน 4.50 คะแนน
อันดับ 8 ความโปร่งใสในการทำงาน 4.47 คะแนน เท่ากับการเป็นที่พึ่งของประชาชนอย่างแท้จริง
และ อันดับสุดท้าย การหาเสียงโดยไม่ใช้เงินซื้อเสียง 4.33 คะแนน
เมื่อให้ประเมินความเหมาะสมของบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปพบว่าจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
มีผู้สอบผ่านคือได้คะแนนเกิน 5 คะแนนเพียง 4 คน คือ
อันดับ 1 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6.78 คะแนน
อันดับ 2 ร.ต.อ. ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 6.35 คะแนน
อันดับ 3 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 5.86 คะแนน
และอันดับ 4 พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน 5.05 คะแนน
ที่ได้คะแนนไม่ถึงครึ่งโดยเข้ามาเป็น อันดับ 5 คือ นายบรรหาร ศิลปอาชา 4.73 คะแนน
อันดับ 6 พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร 4.65 คะแนน
อันดับ 7 พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ 4.37 คะแนน
อันดับ 8 นายเสนาะ เทียนทอง 4.29 คะแนน
อันดับ 9 นายสมัคร สุนทรเวช 4.28 คะแนน
และอันดับ 10 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ 4.23 คะแนน
จะเห็นได้ว่าในสายตาประชาชน นักการเมืองไทยมีภาพลักษณ์ทางลบมากกว่าทางบวก วงจรนักการเมืองยังคงเป็นแบบเก่าๆ ไม่ได้ชิงชัย
กันด้วยความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ยังอิงแอบอยู่กับเรื่องของผลประโยชน์ การโจมตีซึ่งกันและกัน การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแอบอ้างว่าเป็นความ
ต้องการของประชาชน และในที่สุดก็สอดไส้ด้วยผลประโยชน์ส่วนตัวและพรรคพวก เมื่อถึงฤดูเลือกตั้ง ก็เกิดปรากฏการณ์ “เหล้าเปลี่ยนขวด” เช่นเดิม
ตารางที่ 1 อันดับคะแนนเฉลี่ยภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในปัจจุบันตามการประเมินของกลุ่มตัวอย่าง จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
อันดับ ภาพลักษณ์นักการเมืองไทยในปัจจุบัน คะแนนเฉลี่ย
1 ความรู้ความสามารถในการทำงานสาธารณะ 5.55
2 การคิดริเริ่มงานใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม 5.21
3 การช่วยเหลือประชาชนอย่างเต็มที่ 5.16
4 การทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว 4.86
5 การทำงานใกล้ชิดประชาชนหลังสอบผ่านการเลือกตั้งแล้ว 4.68
6 การหาเสียงโดยแสดงความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ ไม่โจมตีคู่แข่ง 4.58
7 การคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนมากกว่าพรรคการเมืองของตน 4.5
8 ความโปร่งใสในการทำงาน 4.47
8 การเป็นที่พึ่งของประชาชนอย่างแท้จริง 4.47
9 การหาเสียงโดยไม่ใช้เงินซื้อเสียง 4.33
ตารางที่ 2 อันดับคะแนนเฉลี่ยความเหมาะสมของบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป ตามการประเมินของกลุ่มตัวอย่าง จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
อันดับ บุคคลที่เหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรี คะแนนเฉลี่ย
1 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6.78
2 ร.ต.อ. ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 6.35
3 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 5.86
4 พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน 5.05
5 นายบรรหาร ศิลปอาชา 4.73
6 พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร 4.65
7 พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ 4.37
8 นายเสนาะ เทียนทอง 4.29
9 นายสมัคร สุนทรเวช 4.28
10 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ 4.23
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-