หลายครั้งหลายหนที่นักศึกษาและบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยรามคำแหงตกเป็นข่าวทางการเมืองในระดับชาติ ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรัฐบาล ฝ่าย
ค้าน หรือภาคประชาชน แม้กระทั่งล่าสุดก็เป็นข่าวในการชุมนุมประท้วงที่มัสยิดกลาง จังหวัดปัตตานี จนทำให้ภาพทางการเมืองกลายเป็นภาพลักษณ์โดด
เด่นของนักศึกษาและบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ทั้งๆ ที่นักศึกษาและบัณฑิตของมหาวิทยาลัยซึ่งมีสาขาวิทยบริการทั่วประเทศยังมีบทบาทอื่นอีกมากมายใน
การพัฒนาประเทศ แต่ไม่ได้เป็นข่าว ศูนย์ประชามติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง จึงสำรวจบทบาทของบัณฑิตที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย
รามคำแหงทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในปีการศึกษา 2549 ทั้งที่จบปริญญาตรีและปริญญาโทจำนวน 2,050 คน ที่เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรปี
พ.ศ. 2550 ในหัวข้อ “บทบาทของบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคำแหงในการพัฒนาท้องถิ่น” เพื่อทราบบทบาทที่แท้จริงของผู้ที่สำเร็จการศึกษา
ผลการสำรวจพบว่าบัณฑิตของมหาวิทยาลัยรามคำแหงมีบทบาทในการรณรงค์ทำความดีเพื่อส่วนรวมมากเป็นอันดับ 1 ร้อยละ 66.9 รองลง
มาร้อยละ 64.4 ร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้หรือปลูกป่า ร้อยละ 63.8 ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ร้อยละ 63.6 ร่วมรณรงค์แก้ไขปัญหายาเสพติดใน
ชุมชน ร้อยละ 63.4 ร่วมส่งเสริมกีฬาและการออกกำลังกายในหมู่บ้าน ร้อยละ 62.7 ร่วมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 61.8 ร่วมพัฒนาที่อยู่อาศัย
ในชุมชน ร้อยละ 57.3 ร่วมพัฒนาสุขภาพอนามัยของคนในหมู่บ้าน ร้อยละ 57.1 ให้การศึกษาหรือให้ความรู้แก่คนในชุมชน ร้อยละ 56.3 ร่วมรณรงค์
ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง ร้อยละ 56.1 ร่วมโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 55.0 ร่วมพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สินของคนในชุมชน ร้อยละ 54.3 ร่วมให้ความรู้เกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตยแก่ชุมชน ร้อยละ 53.7 ส่งเสริมการทำธุรกิจในชุมชน ร้อยละ
53.0 ร่วมส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของคนในชุมชน ร้อยละ 51.8 ร่วมสร้างสาธารณูปการสาธารณูปโภคต่างๆ ร้อยละ 51.5 ร่วมพัฒนาระบบข้อมูลสื่อสาร
ในชุมชน ร้อยละ 50.9 ร่วมให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่ชุมชน ร้อยละ 46.1 ร่วมการทำประชาคมหมู่บ้าน และร้อยละ 36.0 ร่วมกลุ่มประท้วงทางการ
เมือง
จะเห็นได้ว่าบัณฑิตที่จบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยรามคำแหงในปีการศึกษา 2549 มีบทบาทในการรวมกลุ่มประท้วงทางการเมืองน้อยที่สุด
เมื่อเปรียบเทียบกับบทบาทด้านอื่น โดยบัณฑิตประมาณ 1 ใน 3 เคยมีประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรมการประท้วงทางการเมืองเฉลี่ย 1.24 ครั้ง แต่
กิจกรรมที่บัณฑิตมีส่วนร่วมมากที่สุดคือกิจกรรมการรณรงค์ทำความดีเพื่อส่วนรวม เฉลี่ย 3 ครั้ง รองลงมาอันดับ 2 และ 3 คือกิจกรรมเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การปลูกต้นไม้ การปลูกป่า การพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน อันดับ 4 เป็นกิจกรรมรณรงค์แก้ไขปัญหายา
เสพติดในชุมชน และอันดับ 5 คือกิจกรรมด้านกีฬาและการออกกำลังกาย ในขณะที่ผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทมีบทบาทในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมใน
ชุมชนมากที่สุด รองลงมาคือการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สำหรับการมีส่วนร่วมในการประท้วงทางการเมืองนั้นเป็นกิจกรรมที่อยู่ในอันดับเกือบท้าย บ่งชี้ว่า
บัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลัยรามคำแหงมีบทบาทในการส่งเสริมคุณธรรม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อมมากกว่าบทบาททางการ
เมือง
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามบทบาทของบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2549
และเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรปี พ.ศ. 2550
กิจกรรมการพัฒนาท้องถิ่นในปีการศึกษา 2549 กลุ่มที่จบปริญญาตรี กลุ่มที่จบปริญญาโท
อันดับ ร้อยละ จำนวนครั้งเฉลี่ย อันดับ ร้อยละ จำนวนครั้งเฉลี่ย
การรณรงค์ทำความดีเพื่อส่วนรวม 1 66.9 3 7 52.1 2.33
การปลูกต้นไม้หรือปลูกป่า 2 64.4 2.36 3 54.7 2.04
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน 3 63.8 2.18 1 59.4 1.83
การรณรงค์แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 4 63.6 2.71 10 46.4 1.82
การส่งเสริมกีฬาและการออกกำลังกายในหมู่บ้าน 5 63.4 2.65 5 52.3 2.32
การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 6 62.7 2.29 2 55 2.33
การพัฒนาที่อยู่อาศัยในชุมชน 7 61.8 2.21 6 52.2 2.08
การพัฒนาสุขภาพอนามัยของคนในหมู่บ้าน 8 57.3 2.11 13 43.7 1.82
การให้การศึกษาหรือให้ความรู้แก่คนในชุมชน 9 57.1 2.1 4 53.9 2.26
การรณรงค์ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง 10 56.3 2.09 14 43.4 1.83
การร่วมโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ 11 56.1 1.98 9 49.1 1.75
12 55 2.11 12 44.7 1.83
การให้ความรู้เกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตยแก่ชุมชน 13 54.3 2.04 15 42.5 1.71
การส่งเสริมการทำธุรกิจในชุมชน 14 53.7 1.95 11 45.9 2.04
การส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของคนในชุมชน 15 53 1.98 19 38.3 1.64
การสร้างสาธารณูปการสาธารณูปโภคต่างๆ 16 51.8 1.81 8 50.5 1.88
การพัฒนาระบบข้อมูลสื่อสารในชุมชน 17 51.5 1.83 17 39.3 1.64
การให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่ชุมชน 18 50.9 1.83 20 37.6 1.48
การทำประชาคมหมู่บ้าน 19 46.1 1.53 18 39.3 1.42
การรวมกลุ่มประท้วงทางการเมือง 20 36 1.24 16 39.4 1.44
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-
ค้าน หรือภาคประชาชน แม้กระทั่งล่าสุดก็เป็นข่าวในการชุมนุมประท้วงที่มัสยิดกลาง จังหวัดปัตตานี จนทำให้ภาพทางการเมืองกลายเป็นภาพลักษณ์โดด
เด่นของนักศึกษาและบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ทั้งๆ ที่นักศึกษาและบัณฑิตของมหาวิทยาลัยซึ่งมีสาขาวิทยบริการทั่วประเทศยังมีบทบาทอื่นอีกมากมายใน
การพัฒนาประเทศ แต่ไม่ได้เป็นข่าว ศูนย์ประชามติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง จึงสำรวจบทบาทของบัณฑิตที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย
รามคำแหงทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในปีการศึกษา 2549 ทั้งที่จบปริญญาตรีและปริญญาโทจำนวน 2,050 คน ที่เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรปี
พ.ศ. 2550 ในหัวข้อ “บทบาทของบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคำแหงในการพัฒนาท้องถิ่น” เพื่อทราบบทบาทที่แท้จริงของผู้ที่สำเร็จการศึกษา
ผลการสำรวจพบว่าบัณฑิตของมหาวิทยาลัยรามคำแหงมีบทบาทในการรณรงค์ทำความดีเพื่อส่วนรวมมากเป็นอันดับ 1 ร้อยละ 66.9 รองลง
มาร้อยละ 64.4 ร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้หรือปลูกป่า ร้อยละ 63.8 ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ร้อยละ 63.6 ร่วมรณรงค์แก้ไขปัญหายาเสพติดใน
ชุมชน ร้อยละ 63.4 ร่วมส่งเสริมกีฬาและการออกกำลังกายในหมู่บ้าน ร้อยละ 62.7 ร่วมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 61.8 ร่วมพัฒนาที่อยู่อาศัย
ในชุมชน ร้อยละ 57.3 ร่วมพัฒนาสุขภาพอนามัยของคนในหมู่บ้าน ร้อยละ 57.1 ให้การศึกษาหรือให้ความรู้แก่คนในชุมชน ร้อยละ 56.3 ร่วมรณรงค์
ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง ร้อยละ 56.1 ร่วมโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 55.0 ร่วมพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สินของคนในชุมชน ร้อยละ 54.3 ร่วมให้ความรู้เกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตยแก่ชุมชน ร้อยละ 53.7 ส่งเสริมการทำธุรกิจในชุมชน ร้อยละ
53.0 ร่วมส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของคนในชุมชน ร้อยละ 51.8 ร่วมสร้างสาธารณูปการสาธารณูปโภคต่างๆ ร้อยละ 51.5 ร่วมพัฒนาระบบข้อมูลสื่อสาร
ในชุมชน ร้อยละ 50.9 ร่วมให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่ชุมชน ร้อยละ 46.1 ร่วมการทำประชาคมหมู่บ้าน และร้อยละ 36.0 ร่วมกลุ่มประท้วงทางการ
เมือง
จะเห็นได้ว่าบัณฑิตที่จบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยรามคำแหงในปีการศึกษา 2549 มีบทบาทในการรวมกลุ่มประท้วงทางการเมืองน้อยที่สุด
เมื่อเปรียบเทียบกับบทบาทด้านอื่น โดยบัณฑิตประมาณ 1 ใน 3 เคยมีประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรมการประท้วงทางการเมืองเฉลี่ย 1.24 ครั้ง แต่
กิจกรรมที่บัณฑิตมีส่วนร่วมมากที่สุดคือกิจกรรมการรณรงค์ทำความดีเพื่อส่วนรวม เฉลี่ย 3 ครั้ง รองลงมาอันดับ 2 และ 3 คือกิจกรรมเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การปลูกต้นไม้ การปลูกป่า การพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน อันดับ 4 เป็นกิจกรรมรณรงค์แก้ไขปัญหายา
เสพติดในชุมชน และอันดับ 5 คือกิจกรรมด้านกีฬาและการออกกำลังกาย ในขณะที่ผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทมีบทบาทในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมใน
ชุมชนมากที่สุด รองลงมาคือการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สำหรับการมีส่วนร่วมในการประท้วงทางการเมืองนั้นเป็นกิจกรรมที่อยู่ในอันดับเกือบท้าย บ่งชี้ว่า
บัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลัยรามคำแหงมีบทบาทในการส่งเสริมคุณธรรม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อมมากกว่าบทบาททางการ
เมือง
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามบทบาทของบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2549
และเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรปี พ.ศ. 2550
กิจกรรมการพัฒนาท้องถิ่นในปีการศึกษา 2549 กลุ่มที่จบปริญญาตรี กลุ่มที่จบปริญญาโท
อันดับ ร้อยละ จำนวนครั้งเฉลี่ย อันดับ ร้อยละ จำนวนครั้งเฉลี่ย
การรณรงค์ทำความดีเพื่อส่วนรวม 1 66.9 3 7 52.1 2.33
การปลูกต้นไม้หรือปลูกป่า 2 64.4 2.36 3 54.7 2.04
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน 3 63.8 2.18 1 59.4 1.83
การรณรงค์แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 4 63.6 2.71 10 46.4 1.82
การส่งเสริมกีฬาและการออกกำลังกายในหมู่บ้าน 5 63.4 2.65 5 52.3 2.32
การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 6 62.7 2.29 2 55 2.33
การพัฒนาที่อยู่อาศัยในชุมชน 7 61.8 2.21 6 52.2 2.08
การพัฒนาสุขภาพอนามัยของคนในหมู่บ้าน 8 57.3 2.11 13 43.7 1.82
การให้การศึกษาหรือให้ความรู้แก่คนในชุมชน 9 57.1 2.1 4 53.9 2.26
การรณรงค์ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง 10 56.3 2.09 14 43.4 1.83
การร่วมโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ 11 56.1 1.98 9 49.1 1.75
12 55 2.11 12 44.7 1.83
การให้ความรู้เกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตยแก่ชุมชน 13 54.3 2.04 15 42.5 1.71
การส่งเสริมการทำธุรกิจในชุมชน 14 53.7 1.95 11 45.9 2.04
การส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของคนในชุมชน 15 53 1.98 19 38.3 1.64
การสร้างสาธารณูปการสาธารณูปโภคต่างๆ 16 51.8 1.81 8 50.5 1.88
การพัฒนาระบบข้อมูลสื่อสารในชุมชน 17 51.5 1.83 17 39.3 1.64
การให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่ชุมชน 18 50.9 1.83 20 37.6 1.48
การทำประชาคมหมู่บ้าน 19 46.1 1.53 18 39.3 1.42
การรวมกลุ่มประท้วงทางการเมือง 20 36 1.24 16 39.4 1.44
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-