หลังจากที่ศูนย์ประชามติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้นำเสนอผลเอ็กซิทโพลทันทีที่ปิดการลงประชามติเมื่อวันที่ 19
สิงหาคม 2550 ซึ่งชี้ให้เห็นว่าจากจำนวนตัวอย่าง 17,346 คน มีผู้เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญร้อยละ 60.19 และไม่เห็นชอบร้อยละ 39.81 และผล
ของการนับคะแนนจริงอย่างไปเป็นทางการพบว่ามีผู้ไปลงประชามติเห็นชอบร้อยละ 57.81 และไม่เห็นชอบร้อยละ 42.19 ศูนย์ประชามติจึงวิเคราะห์
ความคิดเห็นของประชาชนทุกภาคทั่วประเทศ จำนวน 3536 คน ที่เก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 17-18 สิงหาคม 2550 ในหัวข้อ “การไม่ไปลงประชามติกับ
ความเห็นที่มีต่อร่างรัฐธรรมนูญ” เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการวางแผนพัฒนาทางการเมืองต่อไป
ผลการวิเคราะห์เฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติพบว่าร้อยละ 38.0 ที่ไม่ไปลงประชามติไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ
หรือไม่ ร้อยละ 35.4 เห็นชอบแต่ไม่ไปด้วยเหตุผลส่วนบุคคล และร้อยละ 26.5 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไปลงประชามติพบ
ว่าร้อยละ 58.8 ไปลงมติเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ ร้อยละ 30.2 ไปโดยยังไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ในวันก่อนลงประชามติจริง และร้อยละ
11.0 เห็นชอบ ผู้ชายจะเห็นชอบมากกว่าผู้หญิง ผู้ที่สมรสแล้วร้อยละ 37.8 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 27.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบ
หรือไม่ อีกร้อยละ 35.1 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ในขณะที่คนโสดร้อยละ 39.8 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 24.7 ไม่ไปเพราะไม่
เห็นชอบ และร้อยละ 35.5 ไม่ไปแต่เห็นชอบ
ผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีร้อยละ 36.4 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ร้อยละ 32.7 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ
30.8 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ในขณะที่ผู้มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ส่วนผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาโทร้อย
ละ 55.6 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 11.1 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ 33.3 ไม่ไปแต่เห็นชอบ
สำหรับกลุ่มข้าราชการที่ไม่ไปร้อยละ 47.8 เพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 39.1 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ
13.0 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 45.5 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ร้อยละ 36.4 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อย
ละ 18.2 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ผู้ที่มีอาชีพค้าขายร้อยละ 36.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่เท่ากับที่ไม่ไปแต่เห็นชอบ และร้อยละ
28.0 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ผู้ที่มีอาชีพรับจ้าง/ลูกจ้างร้อยละ 38.0 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 36.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือ
ไม่ และร้อยละ 26.0 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ส่วนกลุ่มคนว่างงานร้อยละ 45.5 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ร้อยละ 27.3 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือ
ไม่ ซึ่งมีจำนวนเท่ากับที่ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ในกลุ่มนิสิตนักศึกษาพบว่าร้อยละ 39.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 38.5 ไม่
ไปแต่เห็นชอบ และร้อยละ 22.5 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ
ถ้าแยกตามกลุ่มการนับถือศาสนา กลุ่มชาวไทยพุทธร้อยละ 38.4 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 34.8 ไม่ไปแต่เห็น
ชอบ และร้อยละ 26.7 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ในขณะที่ชาวไทยคริสต์ร้อยละ 50.0 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ที่เหลือไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็น
ชอบหรือไม่ กับไม่ไปแต่เห็นชอบมีจำนวนเท่ากันคือร้อยละ 25.0 ส่วนชาวไทยมุสลิมร้อยละ 55.6 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ที่เหลือไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบและ
ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ มีจำนวนเท่ากันคือร้อยละ 22.2
เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านร่างรัฐธรรมนูญกับการไม่ไปลงประชามติพบว่าร้อยละ 75.0 ของผู้ที่เคยอ่านจบทั้งเล่มไม่ไปลง
ประชามติเพราะไม่เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ และร้อยละ 25.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ คนที่เคยอ่านบางส่วนร้อยละ 39.2 ไม่ไป
แต่เห็นชอบ ร้อยละ 34.6 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ 26.1 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ส่วนคนที่ไม่เคยอ่านเลยร้อยละ
41.5 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 33.0 ไม่ไปแต่เห็นชอบ และร้อยละ 25.5 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ
จะเห็นว่าคนที่ไม่ไปลงประชามติ ส่วนใหญ่ไม่แน่ใจว่าจะไปเห็นชอบหรือไม่ รองลงมาไม่ไปแต่เห็นชอบ และไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ตาม
ลำดับ ผู้ชายที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญมากกว่าผู้หญิง คนสมรสแล้วที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบมากกว่าคนโสด คนที่มีการศึกษา
ตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไปที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบมากกว่าผู้ที่มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ข้าราชการที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบมากกว่ากลุ่มอาชีพ
อื่น คนที่ติดตามข่าวสารการลงประชามติอย่างต่อเนื่องที่ไม่ไปลงประชามติกลับไม่เห็นชอบมากกว่าคนที่ติดตามบางครั้งและไม่ได้ติดตาม นอกจากนี้ คนที่
เคยอ่านร่างรัฐธรรมนูญจบทั้งเล่มที่ไม่ไปลงประชามติยังไม่เห็นชอบมากกว่าคนที่เคยอ่านบางส่วนและไม่เคยอ่าน ตามลำดับ
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติและลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญ
ผลการสำรวจ 17-18 สิงหาคม 2550 เอ็กซิทโพลของศูนย์ประชามติ คะแนนจริง
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ผู้ไม่ไปลงประชามติ ผู้ไปลงประชามติ ม.รามคำแหง 19 สิงหาคม 2550 แบบไม่เป็นทางการ
ประกาศผล 16.01 น.
เห็นชอบ 35.4 58.8 60.19 57.81
ไม่แน่ใจ 38 30.2 - -
ไม่เห็นชอบ 26.5 11 39.81 42.19
รวม 100 100 100 100
ตารางที่ 2 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญกับเพศ การสมรส และระดับการศึกษา
เพศ การสมรส ระดับการศึกษา
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ชาย หญิง โสด สมรส ต่ำกว่า ป.6 ม.3 ม.6 อนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท
ป.6
เห็นชอบ 36 34.6 35.5 35.1 37.5 20 26.7 38 20 36.4 33.3
ไม่แน่ใจ 31.3 48.5 39.8 27 37.5 50 46.7 39.7 50 32.7 11.1
ไม่เห็นชอบ 32.7 16.9 24.7 37.8 25 30 26.7 22.3 30 30.8 55.6
รวม 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100
ตารางที่ 3 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญกับอาชีพและศาสนา
อาชีพ ศาสนา
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ค้าขาย รับจ้าง/ลูกจ้าง ว่างงาน นิสิตนักศึกษา พุทธ คริสต์ อิสลาม
เห็นชอบ 13 45.5 36 26 45.5 38.5 34.8 25 55.6
ไม่แน่ใจ 39.1 36.4 36 36 27.3 39 38.4 25 22.2
ไม่เห็นชอบ 47.8 18.2 28 38 27.3 22.5 26.7 50 22.2
รวม 100 100 100 100 100 100 100 100 100
ตารางที่ 4 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญกับการติดตามข่าวสารการลงประชามติและการอ่านร่างรัฐธรรมนูญ
การติดตามข่าวสารการลงประชามติ การอ่านร่างรัฐธรรมนูญ
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ติดตามอย่างต่อเนื่อง ติดตามบ้างบางครั้ง ไม่ได้ติดตาม เคยอ่านทั้งเล่ม เคยอ่านบางส่วน ไม่เคย
เห็นชอบ 41.4 37.9 13.5 0 39.2 33
ไม่แน่ใจ 22.4 37.9 59.6 25 34.6 41.5
ไม่เห็นชอบ 36.2 24.3 26.9 75 26.1 25.5
รวม 100 100 100 100 100 100
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-
สิงหาคม 2550 ซึ่งชี้ให้เห็นว่าจากจำนวนตัวอย่าง 17,346 คน มีผู้เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญร้อยละ 60.19 และไม่เห็นชอบร้อยละ 39.81 และผล
ของการนับคะแนนจริงอย่างไปเป็นทางการพบว่ามีผู้ไปลงประชามติเห็นชอบร้อยละ 57.81 และไม่เห็นชอบร้อยละ 42.19 ศูนย์ประชามติจึงวิเคราะห์
ความคิดเห็นของประชาชนทุกภาคทั่วประเทศ จำนวน 3536 คน ที่เก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 17-18 สิงหาคม 2550 ในหัวข้อ “การไม่ไปลงประชามติกับ
ความเห็นที่มีต่อร่างรัฐธรรมนูญ” เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการวางแผนพัฒนาทางการเมืองต่อไป
ผลการวิเคราะห์เฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติพบว่าร้อยละ 38.0 ที่ไม่ไปลงประชามติไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ
หรือไม่ ร้อยละ 35.4 เห็นชอบแต่ไม่ไปด้วยเหตุผลส่วนบุคคล และร้อยละ 26.5 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไปลงประชามติพบ
ว่าร้อยละ 58.8 ไปลงมติเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ ร้อยละ 30.2 ไปโดยยังไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ในวันก่อนลงประชามติจริง และร้อยละ
11.0 เห็นชอบ ผู้ชายจะเห็นชอบมากกว่าผู้หญิง ผู้ที่สมรสแล้วร้อยละ 37.8 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 27.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบ
หรือไม่ อีกร้อยละ 35.1 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ในขณะที่คนโสดร้อยละ 39.8 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 24.7 ไม่ไปเพราะไม่
เห็นชอบ และร้อยละ 35.5 ไม่ไปแต่เห็นชอบ
ผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีร้อยละ 36.4 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ร้อยละ 32.7 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ
30.8 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ในขณะที่ผู้มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ส่วนผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาโทร้อย
ละ 55.6 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 11.1 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ 33.3 ไม่ไปแต่เห็นชอบ
สำหรับกลุ่มข้าราชการที่ไม่ไปร้อยละ 47.8 เพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 39.1 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ
13.0 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 45.5 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ร้อยละ 36.4 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อย
ละ 18.2 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ผู้ที่มีอาชีพค้าขายร้อยละ 36.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่เท่ากับที่ไม่ไปแต่เห็นชอบ และร้อยละ
28.0 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ผู้ที่มีอาชีพรับจ้าง/ลูกจ้างร้อยละ 38.0 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ร้อยละ 36.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือ
ไม่ และร้อยละ 26.0 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ส่วนกลุ่มคนว่างงานร้อยละ 45.5 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ร้อยละ 27.3 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือ
ไม่ ซึ่งมีจำนวนเท่ากับที่ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ในกลุ่มนิสิตนักศึกษาพบว่าร้อยละ 39.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 38.5 ไม่
ไปแต่เห็นชอบ และร้อยละ 22.5 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ
ถ้าแยกตามกลุ่มการนับถือศาสนา กลุ่มชาวไทยพุทธร้อยละ 38.4 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 34.8 ไม่ไปแต่เห็น
ชอบ และร้อยละ 26.7 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ในขณะที่ชาวไทยคริสต์ร้อยละ 50.0 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ที่เหลือไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็น
ชอบหรือไม่ กับไม่ไปแต่เห็นชอบมีจำนวนเท่ากันคือร้อยละ 25.0 ส่วนชาวไทยมุสลิมร้อยละ 55.6 ไม่ไปแต่เห็นชอบ ที่เหลือไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบและ
ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ มีจำนวนเท่ากันคือร้อยละ 22.2
เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านร่างรัฐธรรมนูญกับการไม่ไปลงประชามติพบว่าร้อยละ 75.0 ของผู้ที่เคยอ่านจบทั้งเล่มไม่ไปลง
ประชามติเพราะไม่เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ และร้อยละ 25.0 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ คนที่เคยอ่านบางส่วนร้อยละ 39.2 ไม่ไป
แต่เห็นชอบ ร้อยละ 34.6 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ และร้อยละ 26.1 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ส่วนคนที่ไม่เคยอ่านเลยร้อยละ
41.5 ไม่ไปเพราะไม่แน่ใจว่าจะเห็นชอบหรือไม่ ร้อยละ 33.0 ไม่ไปแต่เห็นชอบ และร้อยละ 25.5 ไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ
จะเห็นว่าคนที่ไม่ไปลงประชามติ ส่วนใหญ่ไม่แน่ใจว่าจะไปเห็นชอบหรือไม่ รองลงมาไม่ไปแต่เห็นชอบ และไม่ไปเพราะไม่เห็นชอบ ตาม
ลำดับ ผู้ชายที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญมากกว่าผู้หญิง คนสมรสแล้วที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบมากกว่าคนโสด คนที่มีการศึกษา
ตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไปที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบมากกว่าผู้ที่มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ข้าราชการที่ไม่ไปลงประชามติไม่เห็นชอบมากกว่ากลุ่มอาชีพ
อื่น คนที่ติดตามข่าวสารการลงประชามติอย่างต่อเนื่องที่ไม่ไปลงประชามติกลับไม่เห็นชอบมากกว่าคนที่ติดตามบางครั้งและไม่ได้ติดตาม นอกจากนี้ คนที่
เคยอ่านร่างรัฐธรรมนูญจบทั้งเล่มที่ไม่ไปลงประชามติยังไม่เห็นชอบมากกว่าคนที่เคยอ่านบางส่วนและไม่เคยอ่าน ตามลำดับ
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติและลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญ
ผลการสำรวจ 17-18 สิงหาคม 2550 เอ็กซิทโพลของศูนย์ประชามติ คะแนนจริง
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ผู้ไม่ไปลงประชามติ ผู้ไปลงประชามติ ม.รามคำแหง 19 สิงหาคม 2550 แบบไม่เป็นทางการ
ประกาศผล 16.01 น.
เห็นชอบ 35.4 58.8 60.19 57.81
ไม่แน่ใจ 38 30.2 - -
ไม่เห็นชอบ 26.5 11 39.81 42.19
รวม 100 100 100 100
ตารางที่ 2 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญกับเพศ การสมรส และระดับการศึกษา
เพศ การสมรส ระดับการศึกษา
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ชาย หญิง โสด สมรส ต่ำกว่า ป.6 ม.3 ม.6 อนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท
ป.6
เห็นชอบ 36 34.6 35.5 35.1 37.5 20 26.7 38 20 36.4 33.3
ไม่แน่ใจ 31.3 48.5 39.8 27 37.5 50 46.7 39.7 50 32.7 11.1
ไม่เห็นชอบ 32.7 16.9 24.7 37.8 25 30 26.7 22.3 30 30.8 55.6
รวม 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100
ตารางที่ 3 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญกับอาชีพและศาสนา
อาชีพ ศาสนา
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ค้าขาย รับจ้าง/ลูกจ้าง ว่างงาน นิสิตนักศึกษา พุทธ คริสต์ อิสลาม
เห็นชอบ 13 45.5 36 26 45.5 38.5 34.8 25 55.6
ไม่แน่ใจ 39.1 36.4 36 36 27.3 39 38.4 25 22.2
ไม่เห็นชอบ 47.8 18.2 28 38 27.3 22.5 26.7 50 22.2
รวม 100 100 100 100 100 100 100 100 100
ตารางที่ 4 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ไปลงประชามติจำแนกตามมติต่อร่างรัฐธรรมนูญกับการติดตามข่าวสารการลงประชามติและการอ่านร่างรัฐธรรมนูญ
การติดตามข่าวสารการลงประชามติ การอ่านร่างรัฐธรรมนูญ
มติต่อร่างรัฐธรรมนูญ ติดตามอย่างต่อเนื่อง ติดตามบ้างบางครั้ง ไม่ได้ติดตาม เคยอ่านทั้งเล่ม เคยอ่านบางส่วน ไม่เคย
เห็นชอบ 41.4 37.9 13.5 0 39.2 33
ไม่แน่ใจ 22.4 37.9 59.6 25 34.6 41.5
ไม่เห็นชอบ 36.2 24.3 26.9 75 26.1 25.5
รวม 100 100 100 100 100 100
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-