แท็ก
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กรมควบคุมมลพิษ
รามคำแหงโพลล์
วันวาเลนไทน์
สัญลักษณ์
แม้ว่าวันวาเลนไทน์จะมีประวัติมาจากนักบุญทางคริสต์ศาสนาและกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความรักในสังคมยุโรป แต่สังคมไทยที่ส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธก็ตกอยู่ใต้กระแสวาเลนไทน์เช่นเดียวกันท่ามกลางความห่วงใยในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์อันไม่สมควรในวันดังกล่าว ศูนย์ประชามติ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง จึงสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร 1470 คน เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2550 ในหัวข้อ “เพศสัมพันธ์วัน
วาเลนไทน์” เพื่อทราบว่าคนไทยให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์จริงหรือไม่ และกลุ่มใดที่เสี่ยงกับการมีเพศสัมพันธ์อย่างไม่สมควรใน
วันวาเลนไทน์
ผลการสำรวจพบว่าร้อยละ 12.1 เท่านั้นที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์
ในกลุ่มนี้เป็น ผู้ชายร้อยละ 60.3
ผู้หญิงร้อยละ 39.7
มีอายุ 10-24 ปีมากที่สุดร้อยละ 51.7
รองลงมาร้อยละ 29.9 อายุ 25-34 ปี
ร้อยละ 11.5 อายุ 35-44 ปี
ร้อยละ 2.9 อายุ 45-54 ปี เท่ากับกลุ่มอายุ 65 ปีขึ้นไป
และร้อยละ 1.1 อายุ 55-64 ปี
โดยกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาให้ความสำคัญ
เป็นอันดับ 1 ร้อยละ 33.9
รองลงมาอันดับ 2 คือกลุ่มที่มีอาชีพรับจ้าง/ลูกจ้างร้อยละ 30.5
อันดับ 3 พ่อค้าแม่ค้าร้อยละ 11.5
อันดับ 4 ข้าราชการร้อยละ 8.6
อันดับ 5 ว่างงานร้อยละ 4.0
อันดับ 6 พนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 2.9
และอันดับสุดท้ายนักธุรกิจให้ความสำคัญน้อยที่สุดมีเพียงร้อยละ 2.3
ส่วนใหญ่เป็นคนโสดร้อยละ 71.8
สมรสและยังอยู่ด้วยกันร้อยละ 22.4
แยกกันอยู่ร้อยละ 2.9
หม้ายร้อยละ 1.7
และหย่าร้อยละ 1.1
ในกลุ่มที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์นี้
ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชายโสดร้อยละ 72.4
และหญิงโสดร้อยละ 71.0
จะเห็นได้ว่าแม้จะมีผู้ที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์เพียงร้อยละ 12.1 แต่กลุ่มที่ให้ความสำคัญกับเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัน
วาเลนไทน์ส่วนใหญ่คือกลุ่มที่เป็นวัยรุ่น ยังเป็นนักเรียน นิสิต นักศึกษา และเป็นโสด ทั้งชายโสดและหญิงโสด โดยผู้ชายให้ความสำคัญมากกว่าผู้หญิง
บ่งชี้ว่าการชิงสุกก่อนห่ามจะเกิดขึ้นกับคนกลุ่มนี้ และผู้ชายมีแนวโน้มจะพยายามแสวงหาโอกาสมีเพศสัมพันธ์ในวันวาเลนไทน์มากกว่าผู้หญิง
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามความคิดเห็นที่มีต่อการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์และสถานภาพส่วนบุคคล
การให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
ไม่ให้ความสำคัญ 87.9
ให้ความสำคัญ 12.1
รวม 100
เพศที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
ชาย 60.3
หญิง 39.7
รวม 100
กลุ่มอาชีพที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
นักเรียน นิสิต นักศึกษา 33.9
รับจ้าง/ลูกจ้าง 30.5
พ่อค้าแม่ค้า 11.5
ข้าราชการ 8.6
ว่างงาน 4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 2.9
นักธุรกิจ 2.3
อื่นๆ 6.3
รวม 100
กลุ่มอายุที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
10-24 ปี 51.7
25-34 ปี 29.9
35-44 ปี 11.5
45-54 ปี 2.9
65 ปีขึ้นไป 2.9
55-64 ปี 1.1
รวม 100
กลุ่มสถานภาพการสมรสที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
โสด 71.8
สมรส 22.4
แยกกันอยู่ 2.9
หม้าย 1.7
หย่า 1.1
รวม 100
สถานภาพการสมรส เพศ
ชาย หญิง
โสด 72.4 71
สมรส 21 24.6
แยกกันอยู่ 2.9 2.9
หย่า 1 1.4
หม้าย 2.9 0
รวม 100 100
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-
ศาสนาพุทธก็ตกอยู่ใต้กระแสวาเลนไทน์เช่นเดียวกันท่ามกลางความห่วงใยในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์อันไม่สมควรในวันดังกล่าว ศูนย์ประชามติ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง จึงสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร 1470 คน เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2550 ในหัวข้อ “เพศสัมพันธ์วัน
วาเลนไทน์” เพื่อทราบว่าคนไทยให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์จริงหรือไม่ และกลุ่มใดที่เสี่ยงกับการมีเพศสัมพันธ์อย่างไม่สมควรใน
วันวาเลนไทน์
ผลการสำรวจพบว่าร้อยละ 12.1 เท่านั้นที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์
ในกลุ่มนี้เป็น ผู้ชายร้อยละ 60.3
ผู้หญิงร้อยละ 39.7
มีอายุ 10-24 ปีมากที่สุดร้อยละ 51.7
รองลงมาร้อยละ 29.9 อายุ 25-34 ปี
ร้อยละ 11.5 อายุ 35-44 ปี
ร้อยละ 2.9 อายุ 45-54 ปี เท่ากับกลุ่มอายุ 65 ปีขึ้นไป
และร้อยละ 1.1 อายุ 55-64 ปี
โดยกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาให้ความสำคัญ
เป็นอันดับ 1 ร้อยละ 33.9
รองลงมาอันดับ 2 คือกลุ่มที่มีอาชีพรับจ้าง/ลูกจ้างร้อยละ 30.5
อันดับ 3 พ่อค้าแม่ค้าร้อยละ 11.5
อันดับ 4 ข้าราชการร้อยละ 8.6
อันดับ 5 ว่างงานร้อยละ 4.0
อันดับ 6 พนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 2.9
และอันดับสุดท้ายนักธุรกิจให้ความสำคัญน้อยที่สุดมีเพียงร้อยละ 2.3
ส่วนใหญ่เป็นคนโสดร้อยละ 71.8
สมรสและยังอยู่ด้วยกันร้อยละ 22.4
แยกกันอยู่ร้อยละ 2.9
หม้ายร้อยละ 1.7
และหย่าร้อยละ 1.1
ในกลุ่มที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์นี้
ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชายโสดร้อยละ 72.4
และหญิงโสดร้อยละ 71.0
จะเห็นได้ว่าแม้จะมีผู้ที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์เพียงร้อยละ 12.1 แต่กลุ่มที่ให้ความสำคัญกับเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัน
วาเลนไทน์ส่วนใหญ่คือกลุ่มที่เป็นวัยรุ่น ยังเป็นนักเรียน นิสิต นักศึกษา และเป็นโสด ทั้งชายโสดและหญิงโสด โดยผู้ชายให้ความสำคัญมากกว่าผู้หญิง
บ่งชี้ว่าการชิงสุกก่อนห่ามจะเกิดขึ้นกับคนกลุ่มนี้ และผู้ชายมีแนวโน้มจะพยายามแสวงหาโอกาสมีเพศสัมพันธ์ในวันวาเลนไทน์มากกว่าผู้หญิง
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามความคิดเห็นที่มีต่อการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์และสถานภาพส่วนบุคคล
การให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
ไม่ให้ความสำคัญ 87.9
ให้ความสำคัญ 12.1
รวม 100
เพศที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
ชาย 60.3
หญิง 39.7
รวม 100
กลุ่มอาชีพที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
นักเรียน นิสิต นักศึกษา 33.9
รับจ้าง/ลูกจ้าง 30.5
พ่อค้าแม่ค้า 11.5
ข้าราชการ 8.6
ว่างงาน 4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 2.9
นักธุรกิจ 2.3
อื่นๆ 6.3
รวม 100
กลุ่มอายุที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
10-24 ปี 51.7
25-34 ปี 29.9
35-44 ปี 11.5
45-54 ปี 2.9
65 ปีขึ้นไป 2.9
55-64 ปี 1.1
รวม 100
กลุ่มสถานภาพการสมรสที่ให้ความสำคัญกับการมีเพศสัมพันธ์วันวาเลนไทน์ ร้อยละ
โสด 71.8
สมรส 22.4
แยกกันอยู่ 2.9
หม้าย 1.7
หย่า 1.1
รวม 100
สถานภาพการสมรส เพศ
ชาย หญิง
โสด 72.4 71
สมรส 21 24.6
แยกกันอยู่ 2.9 2.9
หย่า 1 1.4
หม้าย 2.9 0
รวม 100 100
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-