แท็ก
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยบูรพา
รัฐธรรมนูญ 2550
ร่างรัฐธรรมนูญ
นับว่าเป็นเรื่องแปลกอยู่ไม่น้อยที่รัฐบาลซึ่งมาจากการทำรัฐประหารกลับส่งเสริมให้มีการลงประชามติครั้งแรกในประเทศไทยอันเป็นการส่ง
เสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนซึ่งเป็นหลักการสำคัญของประชาธิปไตย ศูนย์ประชามติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง จึงได้สำรวจความคิด
เห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 1375 คน ในหัวข้อ “การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550: ควรเห็นชอบหรือไม่” เพื่อทดสอบความ
สนใจและความรู้ของประชาชนเกี่ยวกับการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญที่กำลังจะมีขึ้นในวันที่ 19 สิงหาคม 2550
ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 73.7 ไม่เคยอ่านร่างรัฐธรรมนูญ 2550 มีผู้เคยอ่านเพียงร้อยละ 26.3 ทั้งนี้ ร้อยละ 92.1 ไม่มีร่างรัฐ
ธรรมนูญดังกล่าว ร้อยละ 93.0 ไม่เคยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญแก่สภาร่างรัฐธรรมนูญ แต่ร้อยละ 78.2 ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับการ
ลงประชามติบ้างบางครั้ง ร้อยละ 18.1 ติดตามอย่างต่อเนื่อง มีเพียงร้อยละ 3.7 ไม่เคยติดตามเลย
เมื่อถามว่าจะไปลงประชามติหรือไม่ ร้อยละ 60.0 ยังไม่แน่ใจ ร้อยละ 27.9 จะไป และร้อยละ 12.1 ไม่ไป โดยร้อยละ 53.5 คิด
ว่าควรเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ 39.0 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 7.5 เห็นว่าไม่ควร
อย่างไรก็ตาม มีเพียงร้อยละ 48.4 ที่ทราบว่าจะมีการลงประชามติวันที่ 19 สิงหาคม 2550 ร้อยละ 62.7 ทราบว่ารัฐบาลไม่เคยจัดให้
มีการลงประชามติมาก่อน ร้อยละ 55.3 ทราบว่ารัฐบาลเคยจัดให้มีการประชาพิจารณ์ และร้อยละ 76.6 ทราบว่าการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
2550 หมายถึงการเลือกว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าว
จะเห็นได้ว่าเกินครึ่งเล็กน้อยคือร้อยละ 53.5 คิดว่าควรเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ 2550 แต่เป็นความเห็นที่ไม่ได้มีพื้นฐานมาจากความรู้
ความเข้าใจร่างรัฐธรรมนูญเพราะกว่าร้อยละ 70 ยังไม่เคยอ่านเนื่องจากร้อยละ 92.1 ไม่มีร่างรัฐธรรมนูญ และในขณะนี้ ร้อยละ 60.0 ยังไม่แน่ใจ
ว่าจะไปลงประชามติหรือไม่ บ่งชี้ว่าแม้จะในกรุงเทพมหานครประชาชนก็ยังไม่แน่ใจว่าจะไปลงประชามติหรือไม่ ถ้าในต่างจังหวัดจะเกิดอะไรขึ้น
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามพฤติกรรมเกี่ยวกับการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550
การเคยอ่านร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ การมีร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ การเคยแสดงความคิดเห็น ร้อยละ
เกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ 2550
เคย 26.3 มี 7.9 เคย 7
ไม่เคย 73.7 ไม่มี 92.1 ไม่เคย 93
รวม 100 รวม 100 รวม 100
การติดตามข่าวสารการลง ร้อยละ การไปลงประชามติ ร้อยละ การควรเห็นชอบกับร่าง ร้อยละ
ประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร่างรัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2550
ติดตามอย่างต่อเนื่อง 18.1 ไป 27.9 ควร 53.5
ติดตามบ้างบางครั้ง 78.2 ไม่แน่ใจ 60 ไม่แน่ใจ 39
ไม่ได้ติดตาม 3.7 ไม่ไป 12.1 ไม่ควร 7.5
รวม 100 รวม 100 รวม 100
วันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ ความคิดเห็นเรื่องการเคยจัด ร้อยละ ความคิดเห็นเรื่องการเคยจัด ร้อยละ
ตามความเข้าใจของประชาชน ให้มีการลงประชามติของรัฐบาล ให้มีการประชา-พิจารณ์ของรัฐบาล
31 กรกฎาคม 2550 27.7 เคย 37.3 เคย 55.3
9 สิงหาคม 2550 23.9 ไม่เคย 62.7 ไม่เคย 44.7
19 สิงหาคม 2550 48.4 รวม 100 รวม 100
รวม 100
ความหมายของการลงประชามติ ร้อยละ
ตามความเข้าใจของประชาชน
การวิพากษ์วิจารณ์ว่าร่างรัฐธรรมนูญ 11.2
2550 ดีหรือไม่ดีอย่างไร
การเลือกว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ 76.6
กับร่างรัฐธรรมนูญ 2550
ไม่แน่ใจว่าหมายถึงอะไร 12.2
รวม 100
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-
เสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนซึ่งเป็นหลักการสำคัญของประชาธิปไตย ศูนย์ประชามติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง จึงได้สำรวจความคิด
เห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 1375 คน ในหัวข้อ “การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550: ควรเห็นชอบหรือไม่” เพื่อทดสอบความ
สนใจและความรู้ของประชาชนเกี่ยวกับการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญที่กำลังจะมีขึ้นในวันที่ 19 สิงหาคม 2550
ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 73.7 ไม่เคยอ่านร่างรัฐธรรมนูญ 2550 มีผู้เคยอ่านเพียงร้อยละ 26.3 ทั้งนี้ ร้อยละ 92.1 ไม่มีร่างรัฐ
ธรรมนูญดังกล่าว ร้อยละ 93.0 ไม่เคยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญแก่สภาร่างรัฐธรรมนูญ แต่ร้อยละ 78.2 ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับการ
ลงประชามติบ้างบางครั้ง ร้อยละ 18.1 ติดตามอย่างต่อเนื่อง มีเพียงร้อยละ 3.7 ไม่เคยติดตามเลย
เมื่อถามว่าจะไปลงประชามติหรือไม่ ร้อยละ 60.0 ยังไม่แน่ใจ ร้อยละ 27.9 จะไป และร้อยละ 12.1 ไม่ไป โดยร้อยละ 53.5 คิด
ว่าควรเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ 39.0 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 7.5 เห็นว่าไม่ควร
อย่างไรก็ตาม มีเพียงร้อยละ 48.4 ที่ทราบว่าจะมีการลงประชามติวันที่ 19 สิงหาคม 2550 ร้อยละ 62.7 ทราบว่ารัฐบาลไม่เคยจัดให้
มีการลงประชามติมาก่อน ร้อยละ 55.3 ทราบว่ารัฐบาลเคยจัดให้มีการประชาพิจารณ์ และร้อยละ 76.6 ทราบว่าการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ
2550 หมายถึงการเลือกว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าว
จะเห็นได้ว่าเกินครึ่งเล็กน้อยคือร้อยละ 53.5 คิดว่าควรเห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญ 2550 แต่เป็นความเห็นที่ไม่ได้มีพื้นฐานมาจากความรู้
ความเข้าใจร่างรัฐธรรมนูญเพราะกว่าร้อยละ 70 ยังไม่เคยอ่านเนื่องจากร้อยละ 92.1 ไม่มีร่างรัฐธรรมนูญ และในขณะนี้ ร้อยละ 60.0 ยังไม่แน่ใจ
ว่าจะไปลงประชามติหรือไม่ บ่งชี้ว่าแม้จะในกรุงเทพมหานครประชาชนก็ยังไม่แน่ใจว่าจะไปลงประชามติหรือไม่ ถ้าในต่างจังหวัดจะเกิดอะไรขึ้น
ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามพฤติกรรมเกี่ยวกับการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550
การเคยอ่านร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ การมีร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ การเคยแสดงความคิดเห็น ร้อยละ
เกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ 2550
เคย 26.3 มี 7.9 เคย 7
ไม่เคย 73.7 ไม่มี 92.1 ไม่เคย 93
รวม 100 รวม 100 รวม 100
การติดตามข่าวสารการลง ร้อยละ การไปลงประชามติ ร้อยละ การควรเห็นชอบกับร่าง ร้อยละ
ประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร่างรัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2550
ติดตามอย่างต่อเนื่อง 18.1 ไป 27.9 ควร 53.5
ติดตามบ้างบางครั้ง 78.2 ไม่แน่ใจ 60 ไม่แน่ใจ 39
ไม่ได้ติดตาม 3.7 ไม่ไป 12.1 ไม่ควร 7.5
รวม 100 รวม 100 รวม 100
วันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ร้อยละ ความคิดเห็นเรื่องการเคยจัด ร้อยละ ความคิดเห็นเรื่องการเคยจัด ร้อยละ
ตามความเข้าใจของประชาชน ให้มีการลงประชามติของรัฐบาล ให้มีการประชา-พิจารณ์ของรัฐบาล
31 กรกฎาคม 2550 27.7 เคย 37.3 เคย 55.3
9 สิงหาคม 2550 23.9 ไม่เคย 62.7 ไม่เคย 44.7
19 สิงหาคม 2550 48.4 รวม 100 รวม 100
รวม 100
ความหมายของการลงประชามติ ร้อยละ
ตามความเข้าใจของประชาชน
การวิพากษ์วิจารณ์ว่าร่างรัฐธรรมนูญ 11.2
2550 ดีหรือไม่ดีอย่างไร
การเลือกว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ 76.6
กับร่างรัฐธรรมนูญ 2550
ไม่แน่ใจว่าหมายถึงอะไร 12.2
รวม 100
--รามคำแหงโพลล์--
-พห-