อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนัง
1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 6.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.6 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 41.8 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 16.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียว
กันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.5
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 29.8 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 40.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อนลดลงร้อยละ 1.3 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 11.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 48.8
ดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ 2548 2549 Q4/49 Q4/49
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q3/49 Q4/48
ISIC:1911 การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก
-การผลิต 58.7 74.3 63.1 60.1 72.8 98.3 85.9 91.7 6.8 52.6
-การส่งสินค้า 83.9 98.2 90.4 90.7 42.6 55.2 48.4 52.8 9.1 -41.8
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 155.5 160.6 156.1 145.8 207.4 185.6 193.8 162.5 -16.2 11.5
ISIC:1912 การผลิตกระเป๋าเดินทางกระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
-การผลิต 70.2 82.4 69.9 53.4 81.6 56 33.4 37.5 12.3 -29.8
-การส่งสินค้า 67.8 76.4 54.7 39.9 74.3 56.6 28.1 39.4 40.2 -1.3
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 71.6 62.9 96.7 176.4 241.1 273.7 298 262.4 -11.9 48.8
ISIC:1920 การผลิตรองเท้า
-การผลิต 113 101.5 102.1 110.9 127.3 109.9 107.3 103.2 -3.8 -6.9
-การส่งสินค้า 104.4 92.1 99.9 98 125.1 110.4 105.5 99.1 -6.1 1.1
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 91.3 71.7 67.7 79.7 71.2 57.6 55.8 68.1 21.9 -14.7
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขเบื้องต้น
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 6.9 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 6.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 1.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -
14.7
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 9.43 ผลิตภัณฑ์ที่ลด
ลง คือ รองเท้าหนัง และส่วนประกอบของรองเท้า
โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ 2548 2549 อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(49) Q4(49)
/Q3(49) /Q448)
รองเท้าและชิ้นส่วน 228.2 222.5 230.2 219.2 226.8 227.7 247.1 223.8 -9.43 2.1
1.รองเท้ากีฬา 131.7 136.9 138.9 135.2 136.1 144.3 130.8 132.6 1.38 -1.92
2.รองเท้าแตะ 25.9 21.2 20.9 18.7 19.5 18.3 19.4 21 8.25 12.3
3.รองเท้าหนัง 51 46.7 53.3 46.4 48.6 48.7 78.5 50.7 -35.41 9.27
4.รองเท้าอื่นๆ 16 14 13.6 15.1 18.8 13 14.8 16.1 8.78 6.62
5.ส่วนประกอบของรองเท้า 4.2 3 3.6 3.9 3.8 3.4 3.6 3.5 -2.78 -10.26
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 49.8 57.5 54.4 47.9 48.2 49.4 52.7 51.1 -3.04 6.68
1.กระเป๋าเดินทาง 18 25.5 21.1 16.2 17.7 19 18.8 18.5 -1.6 14.2
2.กระเป๋าถือ 10.5 10 10.5 8.8 8.8 9.2 10.9 10.2 -6.42 15.91
3.กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 5.3 5.3 5.7 6 5.5 4.8 5.2 5.8 11.54 -3.33
4.เครื่องเดินทางอื่นๆ 16 16.8 17 16.9 16.2 16.5 17.6 16.7 -5.11 -1.18
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 119.9 113.4 117.5 106.4 108.4 108.8 110.2 123.6 12.16 16.17
1.หนังโคกระบือฟอก 20 38 41.6 38.2 37.5 37.7 36.8 44.1 19.51 15.45
2.ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 8.5 7.4 8.5 7.4 8 6.8 8.4 7.3 -13.1 -1.35
3.ถุงมือหนัง 14.5 11.5 11.1 10.9 17.2 12.3 11.5 12.6 -0.57 15.6
4.เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 1.1 1 1 1.2 1.2 1.1 1.1 0.8 -27.27 -33.33
5.หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ 75.8 55.5 55.3 48.8 44.5 50.8 52.5 58.7 11.81 20.29
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ลดลงร้อยละ 35.41 และ 2.78 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้าแตะ และ รองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ
8.78 8.25 และ 1.38 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.10 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าแตะ รองเท้าหนัง และรองเท้าอื่น ๆ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 9.27 และ 6.62 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ส่วนประกอบรองเท้า และรองเท้ากีฬา ลดลงร้อยละ 10.26 และ
1.92
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ สหราชอาญาจักร และเยอรมนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.62
24.34 และ 22.73 แคนาดา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม สหราชอาณาจักร
เดนมาร์กและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีสัดส่วนร้อยละ 30.4 11.13 7.12 5.93 และ 5.27 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 3.04 ผลิตภัณฑ์ที่
ลดลง คือ กระเป๋าถือ เครื่องเดินทางอื่นๆ และกระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ 6.42 5.11 และ 1.60 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋า
ใส่เศษสตางค์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.54
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.68 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือ และกระเป๋าเดินทาง เพิ่มขึ้นร้อยละ
15.91 และ 14.20 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และเครื่องเดินทางอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 3.33 และ 1.18 ตลาดสำคัญที่เพิ่ม
ขึ้นได้แก่ ฮ่องกง ฝรั่งเศส และสเปน เพิ่มขึ้นร้อยละ 77.42 28.92 และ 28.57 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สวิตเซอร์
แลนด์ เยอรมนี และฝรั่งเศส มีสัดส่วนร้อยละ 24.13 13.51 13.11 7.0 และ 5.31 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ
12.16 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.51 และ 11.81 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ เครื่อง
แต่งกายและเข็มขัด ของเล่นสำหรับเลี้ยง และถุงมือหนัง 27.27 13.10 และ 0.57
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.17 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ ถุงมือหนัง และ
หนังโคกระบือฟอก เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.29 15.60 และ 15.45 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด และ ของเล่นสำหรับ
สัตว์ ลดลงร้อยละ 33.33 และ 1.35 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ จีน และ สหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.91 และ ตลาดหลักที่สำคัญ
ได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา เวียดนาม จีน อินโดนีเซีย มีสัดส่วนตลาดร้อยละ 29.53 13.68 11.49 9.93 และ 8.12 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เทียบกับ ไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -2.50 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 75.28 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น คือ เนเธอร์แลนด์ อิตาลี และมาเลเซีย เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.82
11.90 และ 10.96 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อุรุกกวัย อิตาลี และจีน มีสัดส่วนร้อยละ 13.10
10.99 8.05 7.33 และ 6.82 ตามลำดับ
โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ 2548 2549 อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(49)/Q3(49) Q4(49)/Q4(48)
หนังดิบและหนังฟอก 126.9 137.2 164.4 71.2 108.3 113.7 128 124.8 -2.5 75.28
รองเท้า 18.4 12.3 23.9 20.7 24 18.6 38.9 28.3 -27.25 36.71
1.รองเท้ากีฬา 3.2 0 7.2 4.1 4.9 0 8.8 5.1 -42.05 24.39
2.รองเท้าหนัง 4.7 4.3 4.2 3.9 4.4 4.3 5.1 4 -21.57 2.56
3.รองเท้าทำด้วยยางหรือพลาสติก 1 1.5 1.1 1.3 1.3 1.2 1.3 1.7 30.77 30.77
4.รองเท้าอื่น ๆ 9.6 9.1 8.7 11.4 13.5 17.9 18.9 17.4 -7.94 52.63
กระเป๋า 16.9 13.1 17.6 17.4 19.4 16.7 24.1 18.3 -24.07 5.17
1.กระเป๋าเดินทาง 4.6 4.5 4.8 4.8 4.7 5.4 6.7 5.9 -11.94 22.92
2.กระเป๋าถืออื่น ๆ 12.3 8.6 12.7 12.7 14.8 11.2 17.4 12.5 -28.16 -1.57
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าลดลงร้อยละ 27.25 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้า
กีฬา รองเท้าหนัง และรองเท้าอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 42.05 21.57 และ 7.94 ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น คือ รองเท้ายางหรือ
พลาสติก เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.77เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันมีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.71 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าอื่น ๆ
รองเท้ายางหรือพลาสติก รองเท้ากีฬา รองเท้าหนัง มีมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.63 30.77 24.39 และ 2.56 ของปีก่อนลดลงร้อยละ
48.73 แหล่งนำเข้าสำคัญ คือ จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อิตาลี และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 51.18 11.66 6.19 5.74
และ 5.65 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าลดลงร้อยละ 24.07 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าถือ
อื่น ๆ และกระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ 28.16 และ11.94 เมื่อเทียบกับปีก่อนมีมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.17ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋า
เดินทาง เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.92 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าถืออื่น ๆ ลดลงร้อยละ 1.57 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 แหล่งนำเข้า คือ จีน
อิตาลี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และฮ่องกง มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 39.4 20.8 16.3 3.5 และ 3.4 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีสภาวการณ์การผลิต หนังฟอก และการผลิตกระเป๋าที่เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องจากมี
การส่งออกเพิ่มขึ้น การผลิตรองเท้าลดลงจากไตรมาสก่อนเนื่องจากยังมีสินค้าคงคลังสูง
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีแนวโน้มการผลิตลดลงเนื่องจากตลาดส่งออกหลักของไทย เช่น สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศยุโรปยังมีภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา และมีตลาดคู่แข่งที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านราคาที่มีต้นทุนต่ำกว่าไทย เช่น จีน
เวียดนาม อีกทั้งไทยมีความผันผวนค่าเงินที่มีแนวโน้มสูงขึ้น สำหรับการนำเข้าสินค้าในกลุ่มสำเร็จรูป (กระเป๋าและรองเท้า) ยังมีอัตราการขยายตัว
เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แหล่งนำเข้าที่สำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่องในทุกผลิตภัณฑ์ คือ จีน และเวียดนาม และกลุ่มประเทศที่ผลิตสินค้า Brand
name เช่น อิตาลี ฝรั่งเศส ฮ่องกง เบลเยี่ยม
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 6.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.6 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 41.8 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 16.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียว
กันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.5
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 29.8 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 40.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อนลดลงร้อยละ 1.3 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 11.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 48.8
ดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ 2548 2549 Q4/49 Q4/49
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q3/49 Q4/48
ISIC:1911 การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก
-การผลิต 58.7 74.3 63.1 60.1 72.8 98.3 85.9 91.7 6.8 52.6
-การส่งสินค้า 83.9 98.2 90.4 90.7 42.6 55.2 48.4 52.8 9.1 -41.8
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 155.5 160.6 156.1 145.8 207.4 185.6 193.8 162.5 -16.2 11.5
ISIC:1912 การผลิตกระเป๋าเดินทางกระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
-การผลิต 70.2 82.4 69.9 53.4 81.6 56 33.4 37.5 12.3 -29.8
-การส่งสินค้า 67.8 76.4 54.7 39.9 74.3 56.6 28.1 39.4 40.2 -1.3
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 71.6 62.9 96.7 176.4 241.1 273.7 298 262.4 -11.9 48.8
ISIC:1920 การผลิตรองเท้า
-การผลิต 113 101.5 102.1 110.9 127.3 109.9 107.3 103.2 -3.8 -6.9
-การส่งสินค้า 104.4 92.1 99.9 98 125.1 110.4 105.5 99.1 -6.1 1.1
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 91.3 71.7 67.7 79.7 71.2 57.6 55.8 68.1 21.9 -14.7
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขเบื้องต้น
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 6.9 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 6.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 1.1 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -
14.7
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 9.43 ผลิตภัณฑ์ที่ลด
ลง คือ รองเท้าหนัง และส่วนประกอบของรองเท้า
โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ 2548 2549 อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(49) Q4(49)
/Q3(49) /Q448)
รองเท้าและชิ้นส่วน 228.2 222.5 230.2 219.2 226.8 227.7 247.1 223.8 -9.43 2.1
1.รองเท้ากีฬา 131.7 136.9 138.9 135.2 136.1 144.3 130.8 132.6 1.38 -1.92
2.รองเท้าแตะ 25.9 21.2 20.9 18.7 19.5 18.3 19.4 21 8.25 12.3
3.รองเท้าหนัง 51 46.7 53.3 46.4 48.6 48.7 78.5 50.7 -35.41 9.27
4.รองเท้าอื่นๆ 16 14 13.6 15.1 18.8 13 14.8 16.1 8.78 6.62
5.ส่วนประกอบของรองเท้า 4.2 3 3.6 3.9 3.8 3.4 3.6 3.5 -2.78 -10.26
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 49.8 57.5 54.4 47.9 48.2 49.4 52.7 51.1 -3.04 6.68
1.กระเป๋าเดินทาง 18 25.5 21.1 16.2 17.7 19 18.8 18.5 -1.6 14.2
2.กระเป๋าถือ 10.5 10 10.5 8.8 8.8 9.2 10.9 10.2 -6.42 15.91
3.กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 5.3 5.3 5.7 6 5.5 4.8 5.2 5.8 11.54 -3.33
4.เครื่องเดินทางอื่นๆ 16 16.8 17 16.9 16.2 16.5 17.6 16.7 -5.11 -1.18
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 119.9 113.4 117.5 106.4 108.4 108.8 110.2 123.6 12.16 16.17
1.หนังโคกระบือฟอก 20 38 41.6 38.2 37.5 37.7 36.8 44.1 19.51 15.45
2.ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 8.5 7.4 8.5 7.4 8 6.8 8.4 7.3 -13.1 -1.35
3.ถุงมือหนัง 14.5 11.5 11.1 10.9 17.2 12.3 11.5 12.6 -0.57 15.6
4.เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 1.1 1 1 1.2 1.2 1.1 1.1 0.8 -27.27 -33.33
5.หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ 75.8 55.5 55.3 48.8 44.5 50.8 52.5 58.7 11.81 20.29
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ลดลงร้อยละ 35.41 และ 2.78 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้าแตะ และ รองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ
8.78 8.25 และ 1.38 ตามลำดับ
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.10 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าแตะ รองเท้าหนัง และรองเท้าอื่น ๆ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 9.27 และ 6.62 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ส่วนประกอบรองเท้า และรองเท้ากีฬา ลดลงร้อยละ 10.26 และ
1.92
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ สหราชอาญาจักร และเยอรมนี เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.62
24.34 และ 22.73 แคนาดา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม สหราชอาณาจักร
เดนมาร์กและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีสัดส่วนร้อยละ 30.4 11.13 7.12 5.93 และ 5.27 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 3.04 ผลิตภัณฑ์ที่
ลดลง คือ กระเป๋าถือ เครื่องเดินทางอื่นๆ และกระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ 6.42 5.11 และ 1.60 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋า
ใส่เศษสตางค์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.54
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.68 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือ และกระเป๋าเดินทาง เพิ่มขึ้นร้อยละ
15.91 และ 14.20 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และเครื่องเดินทางอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 3.33 และ 1.18 ตลาดสำคัญที่เพิ่ม
ขึ้นได้แก่ ฮ่องกง ฝรั่งเศส และสเปน เพิ่มขึ้นร้อยละ 77.42 28.92 และ 28.57 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สวิตเซอร์
แลนด์ เยอรมนี และฝรั่งเศส มีสัดส่วนร้อยละ 24.13 13.51 13.11 7.0 และ 5.31 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ
12.16 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.51 และ 11.81 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ เครื่อง
แต่งกายและเข็มขัด ของเล่นสำหรับเลี้ยง และถุงมือหนัง 27.27 13.10 และ 0.57
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.17 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ ถุงมือหนัง และ
หนังโคกระบือฟอก เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.29 15.60 และ 15.45 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด และ ของเล่นสำหรับ
สัตว์ ลดลงร้อยละ 33.33 และ 1.35 ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้น คือ จีน และ สหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.91 และ ตลาดหลักที่สำคัญ
ได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา เวียดนาม จีน อินโดนีเซีย มีสัดส่วนตลาดร้อยละ 29.53 13.68 11.49 9.93 และ 8.12 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เทียบกับ ไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -2.50 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 75.28 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น คือ เนเธอร์แลนด์ อิตาลี และมาเลเซีย เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.82
11.90 และ 10.96 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อุรุกกวัย อิตาลี และจีน มีสัดส่วนร้อยละ 13.10
10.99 8.05 7.33 และ 6.82 ตามลำดับ
โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ 2548 2549 อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q4(49)/Q3(49) Q4(49)/Q4(48)
หนังดิบและหนังฟอก 126.9 137.2 164.4 71.2 108.3 113.7 128 124.8 -2.5 75.28
รองเท้า 18.4 12.3 23.9 20.7 24 18.6 38.9 28.3 -27.25 36.71
1.รองเท้ากีฬา 3.2 0 7.2 4.1 4.9 0 8.8 5.1 -42.05 24.39
2.รองเท้าหนัง 4.7 4.3 4.2 3.9 4.4 4.3 5.1 4 -21.57 2.56
3.รองเท้าทำด้วยยางหรือพลาสติก 1 1.5 1.1 1.3 1.3 1.2 1.3 1.7 30.77 30.77
4.รองเท้าอื่น ๆ 9.6 9.1 8.7 11.4 13.5 17.9 18.9 17.4 -7.94 52.63
กระเป๋า 16.9 13.1 17.6 17.4 19.4 16.7 24.1 18.3 -24.07 5.17
1.กระเป๋าเดินทาง 4.6 4.5 4.8 4.8 4.7 5.4 6.7 5.9 -11.94 22.92
2.กระเป๋าถืออื่น ๆ 12.3 8.6 12.7 12.7 14.8 11.2 17.4 12.5 -28.16 -1.57
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าลดลงร้อยละ 27.25 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้า
กีฬา รองเท้าหนัง และรองเท้าอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 42.05 21.57 และ 7.94 ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น คือ รองเท้ายางหรือ
พลาสติก เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.77เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันมีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.71 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าอื่น ๆ
รองเท้ายางหรือพลาสติก รองเท้ากีฬา รองเท้าหนัง มีมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.63 30.77 24.39 และ 2.56 ของปีก่อนลดลงร้อยละ
48.73 แหล่งนำเข้าสำคัญ คือ จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อิตาลี และเวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 51.18 11.66 6.19 5.74
และ 5.65 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2549 มีมูลค่าลดลงร้อยละ 24.07 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าถือ
อื่น ๆ และกระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ 28.16 และ11.94 เมื่อเทียบกับปีก่อนมีมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.17ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋า
เดินทาง เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.92 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าถืออื่น ๆ ลดลงร้อยละ 1.57 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 แหล่งนำเข้า คือ จีน
อิตาลี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และฮ่องกง มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 39.4 20.8 16.3 3.5 และ 3.4 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีสภาวการณ์การผลิต หนังฟอก และการผลิตกระเป๋าที่เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องจากมี
การส่งออกเพิ่มขึ้น การผลิตรองเท้าลดลงจากไตรมาสก่อนเนื่องจากยังมีสินค้าคงคลังสูง
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีแนวโน้มการผลิตลดลงเนื่องจากตลาดส่งออกหลักของไทย เช่น สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศยุโรปยังมีภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา และมีตลาดคู่แข่งที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านราคาที่มีต้นทุนต่ำกว่าไทย เช่น จีน
เวียดนาม อีกทั้งไทยมีความผันผวนค่าเงินที่มีแนวโน้มสูงขึ้น สำหรับการนำเข้าสินค้าในกลุ่มสำเร็จรูป (กระเป๋าและรองเท้า) ยังมีอัตราการขยายตัว
เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แหล่งนำเข้าที่สำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่องในทุกผลิตภัณฑ์ คือ จีน และเวียดนาม และกลุ่มประเทศที่ผลิตสินค้า Brand
name เช่น อิตาลี ฝรั่งเศส ฮ่องกง เบลเยี่ยม
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-