สถานการณ์ทั่วไป
อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ผงซักฟอกและแชมพู : ผู้ประกอบการผลิตและจำหน่ายสินค้าได้ทยอยยื่นหนังสือขอปรับขึ้นราคามายังกรมการค้าภาย
ในกระทรวงพาณิชย์อย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุด ผู้ประกอบการผลิตสินค้าปุ๋ยเคมี ผงซักฟอก และแชมพูสระผม ได้ยื่นเสนอขอปรับขึ้นราคา ซึ่งในส่วนของปุ๋ย
เคมีนั้น ผู้ประกอบการมีต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ยเคมีจะต้องใช้สารเคมีบางชนิดที่
ได้จากการกลั่นน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อนำน้ำมันมาใช้ในการผลิต ทำให้ต้นทุนแปรผันตามราคาน้ำมัน ส่วนผงซักฟอกและแชมพูมีภาระต้นทุนเพิ่มขึ้นจากค่าใช้
จ่ายด้านพลังงานที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากขบวนการผลิตผงซักฟอกค่อนข้างซับซ้อนและใช้พลังงานในการผลิตจำนวนมาก
อุตสาหกรรมสีทาอาคาร : สถานการณ์ของตลาดสีทาอาคารในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ค่อนข้างซบเซา ภาพรวมของตลาดสีปีนี้น่าจะทรง
ตัวเท่ากับปีก่อน ทำให้ผู้ผลิตสีทุกค่ายต้องงัดกิจกรรมการตลาด แคมเปญ และการเปิดตัวสีรุ่นใหม่ เพื่อมากระตุ้นกำลังซื้อในช่วงขาลง โดยเน้นไปที่กลุ่ม
ลูกค้ารายย่อยหรือกลุ่มผู้บริโภค ที่เป็นผู้อยู่อาศัยในบ้านที่ต้องการจะปรับปรุงบ้าน
การตลาด
การนำเข้า
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q1/2550 Q1/50กับQ4/49 Q1/50กับQ1/49
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 9,344 9,821 9,827 10,188 NA NA NA
1.2 อินทรีย์ * 29 21,582 22,023 22,266 21,848 NA NA NA
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 15,798 15,368 15,571 13,396 NA NA NA
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 7,853 12,008 10,628 4,889 NA NA NA
2.2 สีสกัดใช้ในการฟอกหนังหรือย้อมสี 32 7,831 8,267 8,745 7,826 NA NA NA
2.3 เครื่องสำอาง 33 4,440 4,643 4,569 3,750 NA NA NA
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 4,022 3,828 3,800 3,598 NA NA NA
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
NA เนื่องจากกรมศุลกากรได้นำพิกัดฮาโมไนซ์ฉบับปี 2007 (HS 2007) มาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 ทำให้การจัด
เก็บสถิติการนำเข้า — ส่งออก ต้องจัดทำโปรแกรมใหม่ทั้งระบบ ซึ่งขณะนี้ (พ.ค. 2550 ) อยู่ระหว่างดำเนินการ ทำให้ไม่มีข้อมูลใช้ในการวิเคราะห์
การส่งออก
ประเภท พิกัด มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q1/2550 Q1/50กับQ4/49 Q1/50กับQ1/49
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 2,049 1,913 2,560 2,598 NA NA NA
1.2 อินทรีย์ * 29 4,241 4,230 4,802 4,568 NA NA NA
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 2,785 2,923 3,202 3,434 NA NA NA
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 301 534 647 597 NA NA NA
2.2 สีสกัดใช้ในการฟอกหนังหรือย้อมสี 32 2,129 2,355 2,223 2,186 NA NA NA
2.3 เครื่องสำอาง 33 7,129 6,045 7,513 6,991 NA NA NA
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 2,510 2,552 3,208 2,861 NA NA NA
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
NA เนื่องจากกรมศุลกากรได้นำพิกัดฮาโมไนซ์ฉบับปี 2007 (HS 2007) มาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 ทำให้
การจัดเก็บสถิติการนำเข้า — ส่งออก ต้องจัดทำโปรแกรมใหม่ทั้งระบบ ซึ่งขณะนี้ (พ.ค. 2550 ) อยู่ระหว่างดำเนินการ ทำให้ไม่มีข้อมูลใช้ในการวิ
เคราะห์
แนวโน้ม
สหภาพยุโรปได้ออกกฎระเบียบว่าด้วยการควบคุมสารเคมีที่มีชื่อว่า REACH ( Registration , Evaluation, Authorisation
and Restriction of Chemicals ) โดยจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายน 2007 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความปลอดภัยของสิ่งมีชีวิต และการ
รักษาสภาพสิ่งแวดล้อม เงื่อนไขหลักของการจดทะเบียนคือ เมื่อผู้ประกอบการมีการผลิต/นำเข้าสารเคมี ไปยังสหภาพยุโรป มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ตัน/ปี และสารเคมีนั้นมีการแพร่กระจาย หรือคาดการณ์ได้ว่าสามารถแพร่กระจาย ขณะใช้งานปกติ เช่น ธูป , หมึกจากปากกา, สารในกระดาษ
สำหรับเช็ดทำความสะอาด เป็นต้น ดังนั้นผู้ประกอบการเคมีภัณฑ์ของไทยที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปจึงจำเป็นที่จะต้องปรับตัว เพื่อเตรียมพร้อมกับกฎ
ระเบียบ REACH ที่จะมีผลกระทบกับผู้ประกอบการทั้งทางตรงและทางอ้อม
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ผงซักฟอกและแชมพู : ผู้ประกอบการผลิตและจำหน่ายสินค้าได้ทยอยยื่นหนังสือขอปรับขึ้นราคามายังกรมการค้าภาย
ในกระทรวงพาณิชย์อย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุด ผู้ประกอบการผลิตสินค้าปุ๋ยเคมี ผงซักฟอก และแชมพูสระผม ได้ยื่นเสนอขอปรับขึ้นราคา ซึ่งในส่วนของปุ๋ย
เคมีนั้น ผู้ประกอบการมีต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ยเคมีจะต้องใช้สารเคมีบางชนิดที่
ได้จากการกลั่นน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อนำน้ำมันมาใช้ในการผลิต ทำให้ต้นทุนแปรผันตามราคาน้ำมัน ส่วนผงซักฟอกและแชมพูมีภาระต้นทุนเพิ่มขึ้นจากค่าใช้
จ่ายด้านพลังงานที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากขบวนการผลิตผงซักฟอกค่อนข้างซับซ้อนและใช้พลังงานในการผลิตจำนวนมาก
อุตสาหกรรมสีทาอาคาร : สถานการณ์ของตลาดสีทาอาคารในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ค่อนข้างซบเซา ภาพรวมของตลาดสีปีนี้น่าจะทรง
ตัวเท่ากับปีก่อน ทำให้ผู้ผลิตสีทุกค่ายต้องงัดกิจกรรมการตลาด แคมเปญ และการเปิดตัวสีรุ่นใหม่ เพื่อมากระตุ้นกำลังซื้อในช่วงขาลง โดยเน้นไปที่กลุ่ม
ลูกค้ารายย่อยหรือกลุ่มผู้บริโภค ที่เป็นผู้อยู่อาศัยในบ้านที่ต้องการจะปรับปรุงบ้าน
การตลาด
การนำเข้า
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q1/2550 Q1/50กับQ4/49 Q1/50กับQ1/49
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 9,344 9,821 9,827 10,188 NA NA NA
1.2 อินทรีย์ * 29 21,582 22,023 22,266 21,848 NA NA NA
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 15,798 15,368 15,571 13,396 NA NA NA
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 7,853 12,008 10,628 4,889 NA NA NA
2.2 สีสกัดใช้ในการฟอกหนังหรือย้อมสี 32 7,831 8,267 8,745 7,826 NA NA NA
2.3 เครื่องสำอาง 33 4,440 4,643 4,569 3,750 NA NA NA
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 4,022 3,828 3,800 3,598 NA NA NA
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
NA เนื่องจากกรมศุลกากรได้นำพิกัดฮาโมไนซ์ฉบับปี 2007 (HS 2007) มาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 ทำให้การจัด
เก็บสถิติการนำเข้า — ส่งออก ต้องจัดทำโปรแกรมใหม่ทั้งระบบ ซึ่งขณะนี้ (พ.ค. 2550 ) อยู่ระหว่างดำเนินการ ทำให้ไม่มีข้อมูลใช้ในการวิเคราะห์
การส่งออก
ประเภท พิกัด มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q1/2550 Q1/50กับQ4/49 Q1/50กับQ1/49
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 2,049 1,913 2,560 2,598 NA NA NA
1.2 อินทรีย์ * 29 4,241 4,230 4,802 4,568 NA NA NA
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 2,785 2,923 3,202 3,434 NA NA NA
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 301 534 647 597 NA NA NA
2.2 สีสกัดใช้ในการฟอกหนังหรือย้อมสี 32 2,129 2,355 2,223 2,186 NA NA NA
2.3 เครื่องสำอาง 33 7,129 6,045 7,513 6,991 NA NA NA
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 2,510 2,552 3,208 2,861 NA NA NA
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
NA เนื่องจากกรมศุลกากรได้นำพิกัดฮาโมไนซ์ฉบับปี 2007 (HS 2007) มาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 ทำให้
การจัดเก็บสถิติการนำเข้า — ส่งออก ต้องจัดทำโปรแกรมใหม่ทั้งระบบ ซึ่งขณะนี้ (พ.ค. 2550 ) อยู่ระหว่างดำเนินการ ทำให้ไม่มีข้อมูลใช้ในการวิ
เคราะห์
แนวโน้ม
สหภาพยุโรปได้ออกกฎระเบียบว่าด้วยการควบคุมสารเคมีที่มีชื่อว่า REACH ( Registration , Evaluation, Authorisation
and Restriction of Chemicals ) โดยจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายน 2007 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความปลอดภัยของสิ่งมีชีวิต และการ
รักษาสภาพสิ่งแวดล้อม เงื่อนไขหลักของการจดทะเบียนคือ เมื่อผู้ประกอบการมีการผลิต/นำเข้าสารเคมี ไปยังสหภาพยุโรป มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ตัน/ปี และสารเคมีนั้นมีการแพร่กระจาย หรือคาดการณ์ได้ว่าสามารถแพร่กระจาย ขณะใช้งานปกติ เช่น ธูป , หมึกจากปากกา, สารในกระดาษ
สำหรับเช็ดทำความสะอาด เป็นต้น ดังนั้นผู้ประกอบการเคมีภัณฑ์ของไทยที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปจึงจำเป็นที่จะต้องปรับตัว เพื่อเตรียมพร้อมกับกฎ
ระเบียบ REACH ที่จะมีผลกระทบกับผู้ประกอบการทั้งทางตรงและทางอ้อม
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-