ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 56.89 บาท / กิโลกรัม
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายสายันต์ เกี่ยวข้อง รองผู้อำนวยการสำรนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง กล่าวว่า อนาคตยางพาราของไทย ยังสดใสเนื่องจากมีการส่งออกไปยังจีนเพื่อนำไปผลิตยางล้อรถยนต์และยางล้ออื่น ๆเป็นจำนวนมาก ในปีนี้คาดว่า จีนจะนำ เข้ายางพาราจากไทยประมาณ 8 แสนตัน ขณะเดียวกันอุตสาหกรรมในประเทศก็หันมาใช้ยางธรรมชาติเพิ่มขึ้นตามภาวะ เศรษฐกิจ และทดแทนการใช้ยางสังเคราะห์ที่มีราคาสูงตามสถานการณ์ราคาน้ำมัน
สำหรับประเทศคู่แข่งในการส่งออกยางพาราที่สำคัญนอกจากมาเลเซียและอินโดนีเซียแล้วยังมีอีกประเทศหนึ่ง คือ เวียดนาม ที่ปัจจุบันแผนจะเพิ่มพื้นที่ปลูกยางมากขึ้น โดยผลผลิตส่วนใหญ่เป็นยางแท่ง มีการส่งออกประมาณ 4 แสนตันต่อปี
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.36 บาท ลดลงจาก 6 1.55 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.19 บาท หรือร้อยละ 10.06
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.86 บาท ลดลงจาก 6 1.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.18 บาท หรือร้อยละ 10.12
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.36 บาท ลดลงจาก 6 0.54 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.18 บาท หรือร้อยละ 10.21
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.00 บาท ลดลงจาก 59.63 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 6.63 บาท หรือร้อยละ 11.12
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.77 บาท ลดลงจาก 59.34 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 6.57 บาท หรือร้อยละ 11.07
ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.76 บาท ลดลงจาก 59.41 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.65 บาท หรือร้อยละ 12.88
ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.48 บาท ลดลงจาก 3 0.32 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 2.84 บาท หรือร้อยละ 9.37
เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 2 4.75 บาท ลดลงจ ก 2 7.01 บาท ของสัปดาห์
ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.26 บาท หรือร้อยละ 8.37
น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 5 4.79 บาท ลดลงจาก 58.56 บาท ของสัปดาห์
ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.77 บาท หรือร้อยละ 6.44
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกันยายน 2548
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.35 บาท ลดลงจาก 7 0.68 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.54
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 64.20 บาท ลดลงจาก 69.53 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.67
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.67 บาท ลดลงจาก 49.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0 .83 บาท หรือร้อยละ 1.68
ท่าเรือสงขลา
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.10 บาท ลดลงจาก 7 0.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.57
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.95 บาท ลดลง จาก 69.28 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.69
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.05 บาท ลดลงจาก 49.88 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 0 .83 บาท หรือร้อยละ 1.66
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ในช่วงกว่า 10 ปีที่ผ่านมา มาเลเซียเคยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกยางพารามากเป็นอันดับ 1 ของโลกต่อมารัฐบาล มีนโยบายการเพิ่มมูลค่าในสินค้ายางพารา จึงมีการสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์มากขึ้น ขณะเดียวกันได้เห็นว่า ปาล์มน้ำมันน่าจะมีศักยภาพที่ดีกว่า มาเลเซียจึงผลิตยางพาราเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของอุตสาหกรรม ในประเทศเท่านั้น โดยลดพื้นที่การปลูกยางและหันมาปลูกปาล์มน้ำมันทดแทน ขณะที่ไทยได้มีการสนับสนุน การปลูกยาง พาราเพิ่มขึ้น จึงทำให้ไทยเลื่อนฐานะจากการเป็นผู้นำเข้ามาเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางพารารายใหญ่อันดับ 1 ของโลกแทน มาเลเซีย สำหรับปัจจุบันแนวโน้มราคายางพาราได้โน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้มาเลเซียหันมาพัฒนาเทคโนโลยี การผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตในประเทศ โดยในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มาเลเซียสามารถเพิ่มผลผลิตได้ถึงร้อยละ 25 ทำให้ลดการ นำเข้าน้ำยางข้นจากต่างประเทศได้ถึง 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี
มาเลเซียเป็นผู้ผลิตถุงมือยางพารารายใหญ่อันดับ 1 ของโลก ปี 2547 ส่งออกจำนวน 36,000 ล้านคู่ ทำให้มีความต้องการ ใช้น้ำยางข้นเพิ่มขึ้น และไทยซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตน้ำยางข้นรายใหญ่ของโลก ผลิตเพียง 1.2 ล้านตันต่อปี หรือ 1 ใน 5 ของผลผลิตยางธรรมชาติทั้งหมด ผลผลิตที่เหลือจะผลิตในรูปยางแผ่นรมควันและยางแท่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ใน อุตสาหกรรม ผลิตยางล้อที่มีความต้องการยางธรรมชาติสูง ทำให้ราคายางแผ่นรมควันและยางแท่งสูงกว่าราคาน้ำยางข้น กิโลกรัมละ 0.40 บาท จึงเป็นแรงจูงใจใ ห มีการผลิตยางแผ่นรมควันและยางแท่งมากขึ้น จึงเป็นเหตุผลที่มาเลเซีย จำเป็นต้อง พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เพื่อกระตุ้นผลผลิตให้เพิ่มขึ้น สนองความต้องการใช้ในประเทศได้เพียงพอระดับหนึ่ง ซึ่งคาดว่า ในปี 2550 มาเลเซียจะสามารถผลิตยางได้ประมาณ 1.5 ล้านตัน
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ต ลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2 56.31 เซนต์สิงคโปร์ ( 63.00 บาท ) ลดลงจาก 2 74.25 เซนต์สิงคโปร์ ( 67.68 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 17.94 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 6.54
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 1 51.06 เซนต์สหรัฐ ( 61.83 บาท ) ลดลงจาก 1 63.00 เซนต์สหรัฐ ( 66.76 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 11.94 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 7.33
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อขายล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1 35.50 เพนนี ( 55.46 บาท ) ลดลงจาก 1 44.17 เพนนี ( 59.05 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.67 เพนนี หรือร้อยละ 6.01
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 173.05 เยน ( 64.33 บาท ) ลดลงจาก 190.27 เยน ( 69.40 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 17.22 เยน หรือร้อยละ 9.05
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 15-21 สิงหาคม 2548--
-พห-
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายสายันต์ เกี่ยวข้อง รองผู้อำนวยการสำรนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง กล่าวว่า อนาคตยางพาราของไทย ยังสดใสเนื่องจากมีการส่งออกไปยังจีนเพื่อนำไปผลิตยางล้อรถยนต์และยางล้ออื่น ๆเป็นจำนวนมาก ในปีนี้คาดว่า จีนจะนำ เข้ายางพาราจากไทยประมาณ 8 แสนตัน ขณะเดียวกันอุตสาหกรรมในประเทศก็หันมาใช้ยางธรรมชาติเพิ่มขึ้นตามภาวะ เศรษฐกิจ และทดแทนการใช้ยางสังเคราะห์ที่มีราคาสูงตามสถานการณ์ราคาน้ำมัน
สำหรับประเทศคู่แข่งในการส่งออกยางพาราที่สำคัญนอกจากมาเลเซียและอินโดนีเซียแล้วยังมีอีกประเทศหนึ่ง คือ เวียดนาม ที่ปัจจุบันแผนจะเพิ่มพื้นที่ปลูกยางมากขึ้น โดยผลผลิตส่วนใหญ่เป็นยางแท่ง มีการส่งออกประมาณ 4 แสนตันต่อปี
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.36 บาท ลดลงจาก 6 1.55 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.19 บาท หรือร้อยละ 10.06
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.86 บาท ลดลงจาก 6 1.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.18 บาท หรือร้อยละ 10.12
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.36 บาท ลดลงจาก 6 0.54 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 6.18 บาท หรือร้อยละ 10.21
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.00 บาท ลดลงจาก 59.63 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 6.63 บาท หรือร้อยละ 11.12
ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.77 บาท ลดลงจาก 59.34 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 6.57 บาท หรือร้อยละ 11.07
ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.76 บาท ลดลงจาก 59.41 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 7.65 บาท หรือร้อยละ 12.88
ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.48 บาท ลดลงจาก 3 0.32 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 2.84 บาท หรือร้อยละ 9.37
เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 2 4.75 บาท ลดลงจ ก 2 7.01 บาท ของสัปดาห์
ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.26 บาท หรือร้อยละ 8.37
น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 5 4.79 บาท ลดลงจาก 58.56 บาท ของสัปดาห์
ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.77 บาท หรือร้อยละ 6.44
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกันยายน 2548
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.35 บาท ลดลงจาก 7 0.68 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.54
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 64.20 บาท ลดลงจาก 69.53 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.67
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.67 บาท ลดลงจาก 49.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0 .83 บาท หรือร้อยละ 1.68
ท่าเรือสงขลา
ยางแผ่นรมควันชั้น 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.10 บาท ลดลงจาก 7 0.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.57
ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.95 บาท ลดลง จาก 69.28 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 5.33 บาท หรือร้อยละ 7.69
น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.05 บาท ลดลงจาก 49.88 บาท ของสัปดาห์ที่ แล้วกิโลกรัมละ 0 .83 บาท หรือร้อยละ 1.66
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดต่างประเทศ
ในช่วงกว่า 10 ปีที่ผ่านมา มาเลเซียเคยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกยางพารามากเป็นอันดับ 1 ของโลกต่อมารัฐบาล มีนโยบายการเพิ่มมูลค่าในสินค้ายางพารา จึงมีการสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์มากขึ้น ขณะเดียวกันได้เห็นว่า ปาล์มน้ำมันน่าจะมีศักยภาพที่ดีกว่า มาเลเซียจึงผลิตยางพาราเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของอุตสาหกรรม ในประเทศเท่านั้น โดยลดพื้นที่การปลูกยางและหันมาปลูกปาล์มน้ำมันทดแทน ขณะที่ไทยได้มีการสนับสนุน การปลูกยาง พาราเพิ่มขึ้น จึงทำให้ไทยเลื่อนฐานะจากการเป็นผู้นำเข้ามาเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางพารารายใหญ่อันดับ 1 ของโลกแทน มาเลเซีย สำหรับปัจจุบันแนวโน้มราคายางพาราได้โน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้มาเลเซียหันมาพัฒนาเทคโนโลยี การผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตในประเทศ โดยในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มาเลเซียสามารถเพิ่มผลผลิตได้ถึงร้อยละ 25 ทำให้ลดการ นำเข้าน้ำยางข้นจากต่างประเทศได้ถึง 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี
มาเลเซียเป็นผู้ผลิตถุงมือยางพารารายใหญ่อันดับ 1 ของโลก ปี 2547 ส่งออกจำนวน 36,000 ล้านคู่ ทำให้มีความต้องการ ใช้น้ำยางข้นเพิ่มขึ้น และไทยซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตน้ำยางข้นรายใหญ่ของโลก ผลิตเพียง 1.2 ล้านตันต่อปี หรือ 1 ใน 5 ของผลผลิตยางธรรมชาติทั้งหมด ผลผลิตที่เหลือจะผลิตในรูปยางแผ่นรมควันและยางแท่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ใน อุตสาหกรรม ผลิตยางล้อที่มีความต้องการยางธรรมชาติสูง ทำให้ราคายางแผ่นรมควันและยางแท่งสูงกว่าราคาน้ำยางข้น กิโลกรัมละ 0.40 บาท จึงเป็นแรงจูงใจใ ห มีการผลิตยางแผ่นรมควันและยางแท่งมากขึ้น จึงเป็นเหตุผลที่มาเลเซีย จำเป็นต้อง พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เพื่อกระตุ้นผลผลิตให้เพิ่มขึ้น สนองความต้องการใช้ในประเทศได้เพียงพอระดับหนึ่ง ซึ่งคาดว่า ในปี 2550 มาเลเซียจะสามารถผลิตยางได้ประมาณ 1.5 ล้านตัน
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ต ลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2 56.31 เซนต์สิงคโปร์ ( 63.00 บาท ) ลดลงจาก 2 74.25 เซนต์สิงคโปร์ ( 67.68 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 17.94 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 6.54
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 1 51.06 เซนต์สหรัฐ ( 61.83 บาท ) ลดลงจาก 1 63.00 เซนต์สหรัฐ ( 66.76 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 11.94 เซนต์สหรัฐ หรือร้อยละ 7.33
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อขายล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1 35.50 เพนนี ( 55.46 บาท ) ลดลงจาก 1 44.17 เพนนี ( 59.05 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 8.67 เพนนี หรือร้อยละ 6.01
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อขายล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 173.05 เยน ( 64.33 บาท ) ลดลงจาก 190.27 เยน ( 69.40 บาท ) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 17.22 เยน หรือร้อยละ 9.05
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 15-21 สิงหาคม 2548--
-พห-