1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่1 ปี 2550 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อย
ละ 27.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 8.2 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 27.5 เมื่อเทียบกับไตรมาส
เดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 10.3 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 17.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี
ก่อนลดลงร้อยละ 35.6
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 111.3 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 3.0 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 85.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลง
ร้อยละ 1.5 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.0
ตาราง แสดงดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ 2549 2550 Q1(50)/ Q1(50)/
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1* Q4(49) Q1(49)
-การผลิต 72.8 98.3 85.9 91.6 66.8 -27.1 -8.2
-การส่งสินค้า 42.6 55.2 48.4 52.7 38.2 -27.5 -10
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 207 186 194 162 134 -17.7 -36
-การผลิต 81.6 56 33.6 37.5 79.2 111 -3
-การส่งสินค้า 74.3 56.8 28.4 39.4 73.2 85.9 -1.5
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 241 274 298 262 340 29.6 41
-การผลิต 127 110 107 103 113 10.2 -11
-การส่งสินค้า 125 110 106 100 108 7.9 -14
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 71.2 57.6 55.8 68.6 93.4 36.1 31.2
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขเบื้องต้น
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 10.9 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลง
ร้อยละ 13.6 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ
31.2
1. การตลาด
เนื่องจากกรมศุลกากรได้นำพิกัดศุลกากรฮาร์โมไนต์ฉบับปี 2007 มาใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2007 ทำให้การจัดเก็บสถิตินำเข้าส่งออกต้อง
จัดทำโปรแกรมใหม่ทั้งระบบ ซึ่งในขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการ
2. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยในไตรมาสที่1 ปี 2550 มีการผลิตลดลง โดยอุตสาหกรรมฟอกหนังจากความเห็นภาค
เอกชนต่อภาวะธุรกิจรวม ไม่ดีสูงถึงร้อยละ 50.0 และต่อเนื่องไปถึงเดือนเมษายน ภาวะรวมไม่ดีร้อยละ 28.6 จึงส่งผลต่อการลดกำลังการผลิต
ลง การผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้น จากความเห็นภาคเอกชนต่อภาวะธุรกิจรวม ดีขึ้นร้อยละ 16.7 และต่อเนื่องไปถึงเดือนเมษายน ภาวะรวมดีขึ้นร้อย
ละ 22.2 อีกทั้งดัชนีการส่งสินค้าที่เพิ่มขึ้น
ตาราง แสดงความเห็นต่อภาวะธุรกิจของผู้ประกอบการ เดือน มีนาคม และเดือนเมษายน 2550
อุตสาหกรรม เดือน มีนาคม 2550(ร้อยละ) รวม เดือน เมษายน 2550(ร้อยละ) รรวม
ดี ทรงตัว ไม่ดี ดี-ไม่ดี ดี ทรงตัว ไม่ดี ดี-ไม่ดี
- ISIC1911 การฟอกและตกแต่งหนังฟอก 77.1 35.7 57.1 50 14.3 42.9 42.9 28.6
- ISIC1912การผลิตกระเป๋าเดินทางและ- 30.8 23.1 46.2 15.4 15.4 46.2 38.5 23.1
กระเป๋าถือและสิ่งคล้ายกัน
- ISIC1920 การผลิตรองเท้า 30.6 55.6 13.9 16.7 30.6 61.1 8.3 22.2
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยอาจมีแนวโน้มการผลิตที่ทรงตัว เนื่องจากการคาดการณ์ภาวะธุรกิจไม่ดีและทรงตัวมี
ผลรวมออกมาติดลบ อีกทั้งตลาดหลักที่นำเข้าอย่างสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาและสถานการณ์การแข่งขันทาง
การค้าสูงมาก อีกทั้งค่าเงินบาทแข็งค่าส่งผลกระทบต่อการส่งออก
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
ในช่วงไตรมาสที่1 ปี 2550 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อย
ละ 27.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 8.2 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 27.5 เมื่อเทียบกับไตรมาส
เดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 10.3 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 17.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี
ก่อนลดลงร้อยละ 35.6
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 111.3 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 3.0 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 85.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลง
ร้อยละ 1.5 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.0
ตาราง แสดงดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ 2549 2550 Q1(50)/ Q1(50)/
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1* Q4(49) Q1(49)
-การผลิต 72.8 98.3 85.9 91.6 66.8 -27.1 -8.2
-การส่งสินค้า 42.6 55.2 48.4 52.7 38.2 -27.5 -10
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 207 186 194 162 134 -17.7 -36
-การผลิต 81.6 56 33.6 37.5 79.2 111 -3
-การส่งสินค้า 74.3 56.8 28.4 39.4 73.2 85.9 -1.5
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 241 274 298 262 340 29.6 41
-การผลิต 127 110 107 103 113 10.2 -11
-การส่งสินค้า 125 110 106 100 108 7.9 -14
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 71.2 57.6 55.8 68.6 93.4 36.1 31.2
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขเบื้องต้น
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2550 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 10.9 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลง
ร้อยละ 13.6 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ
31.2
1. การตลาด
เนื่องจากกรมศุลกากรได้นำพิกัดศุลกากรฮาร์โมไนต์ฉบับปี 2007 มาใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2007 ทำให้การจัดเก็บสถิตินำเข้าส่งออกต้อง
จัดทำโปรแกรมใหม่ทั้งระบบ ซึ่งในขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการ
2. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยในไตรมาสที่1 ปี 2550 มีการผลิตลดลง โดยอุตสาหกรรมฟอกหนังจากความเห็นภาค
เอกชนต่อภาวะธุรกิจรวม ไม่ดีสูงถึงร้อยละ 50.0 และต่อเนื่องไปถึงเดือนเมษายน ภาวะรวมไม่ดีร้อยละ 28.6 จึงส่งผลต่อการลดกำลังการผลิต
ลง การผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้น จากความเห็นภาคเอกชนต่อภาวะธุรกิจรวม ดีขึ้นร้อยละ 16.7 และต่อเนื่องไปถึงเดือนเมษายน ภาวะรวมดีขึ้นร้อย
ละ 22.2 อีกทั้งดัชนีการส่งสินค้าที่เพิ่มขึ้น
ตาราง แสดงความเห็นต่อภาวะธุรกิจของผู้ประกอบการ เดือน มีนาคม และเดือนเมษายน 2550
อุตสาหกรรม เดือน มีนาคม 2550(ร้อยละ) รวม เดือน เมษายน 2550(ร้อยละ) รรวม
ดี ทรงตัว ไม่ดี ดี-ไม่ดี ดี ทรงตัว ไม่ดี ดี-ไม่ดี
- ISIC1911 การฟอกและตกแต่งหนังฟอก 77.1 35.7 57.1 50 14.3 42.9 42.9 28.6
- ISIC1912การผลิตกระเป๋าเดินทางและ- 30.8 23.1 46.2 15.4 15.4 46.2 38.5 23.1
กระเป๋าถือและสิ่งคล้ายกัน
- ISIC1920 การผลิตรองเท้า 30.6 55.6 13.9 16.7 30.6 61.1 8.3 22.2
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยอาจมีแนวโน้มการผลิตที่ทรงตัว เนื่องจากการคาดการณ์ภาวะธุรกิจไม่ดีและทรงตัวมี
ผลรวมออกมาติดลบ อีกทั้งตลาดหลักที่นำเข้าอย่างสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาและสถานการณ์การแข่งขันทาง
การค้าสูงมาก อีกทั้งค่าเงินบาทแข็งค่าส่งผลกระทบต่อการส่งออก
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-