ในปี 2550 ภาครัฐมีแผนดำเนินโครงการที่เกี่ยวข้องกับการวางรากฐานการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางที่สำคัญหลาย
โครงการ เช่น โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่ม Value Creation อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
โครงการจัดตั้งศูนย์ทดสอบยางล้อ และโครงการกำหนดและปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยาง จึงคาดว่าในอนาคตอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางของ
ไทยจะมีโครงสร้างอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งยิ่งขึ้น มีการเพิ่มการใช้ยางธรรมชาติ โดยนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยางเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มมากขึ้น สามารถ
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางได้หลากหลายชนิดมากขึ้น ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งจะทำให้สามารถเพิ่มขีดความ
สามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศได้
1. การผลิต
การผลิตยางแปรรูปขั้นต้นในไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตยางแท่ง 187,889 ตัน และมีปริมาณการผลิตยางแผ่น 81,073
ตัน เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 1.75 และ1.95 ตามลำดับ และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ปริมาณการผลิตยางแท่งลดลงร้อย
ละ 12.04 แต่ปริมาณการผลิตยางแผ่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.04 สำหรับในปี 2549 มีปริมาณการผลิตยางแท่ง 804,507 ตัน เมื่อเทียบกับปีก่อนลดลงร้อย
ละ 0.52 และมีปริมาณการผลิตยางแผ่น 303,010 ตัน เมื่อเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.32
การผลิตผลิตภัณฑ์ยางในไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากราคายางพาราในปี 2549 มีความผันผวน โดย
ในช่วงไตรมาสที่ 2 ราคายางพาราสูงถึงกิโลกรัมละ 100 บาท ทำให้ต้นทุนการผลิตผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มขึ้น และราคายางพาราได้ปรับตัวลดลงมาตลอด
ตั้งแต่ไตรมาสที่ 3จนถึงไตรมาสที่ 4 ยางพารามีราคาปรับตัวขึ้นลง กิโลกรัมละ 45 - 70 บาท ความผันผวนของราคายางพาราดังกล่าว เป็นปัจจัย
เสี่ยงและเป็นปัจจัยสำคัญต่อการวางแผนการผลิตและการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตผลิตภัณฑ์ยางในไตรมาสนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตเพิ่มขึ้น
ได้แก่ ยางนอกรถยนต์นั่ง มีจำนวน 3,619,097 เส้น ยางนอกรถบรรทุกและรถโดยสาร มีจำนวน 1,149,105 เส้น ยางนอกรถแทรกเตอร์มีจำนวน
39,774 เส้น และถุงมือยางมีจำนวน 2,247,632,542 ชิ้นซึ่งเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนมีการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.37, 7.94 , 4.15 และ 9.49
ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตลดลง ได้แก่ ยางนอกรถกระบะมีจำนวน 1,192,662 เส้น ยางนอกรถจักรยานยนต์มีจำนวน 5,227,162 เส้น
และยางนอกรถจักรยานมีจำนวน 5,244,873 เส้น เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนมีการผลิตลดลงร้อยละ 12.53 , 2.67 และ 10.43 ตามลำดับ
สำหรับการผลิตในปี 2549 พบว่าปริมาณลดลงเกือบทุกรายการ ยกเว้น ยางนอกรถจักรยานยนต์ ยางในรถจักรยาน และถุงมือยาง ซึ่งมีการผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 2.82 , 3.78 และ 3.15 ตามลำดับ
2. การตลาด
2.1 ตลาดในประเทศ
การจำหน่ายในประเทศไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ปริมาณการจำหน่ายยางแท่ง 15,632 ตัน เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนและไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน ปริมาณการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.50 และ 9.64 ตามลำดับ ในส่วนของยางแผ่นมีปริมาณการจำหน่าย 19,996 ตัน เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อนลดลงร้อยละ 13.12 แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.51 สำหรับปี 2549 มีปริมาณการจำหน่ายยางแท่ง
53,652 ตัน และยางแผ่น 93,156 ตัน เมื่อเทียบกับปีก่อน ลดลงร้อยละ 9.19 และ 6.24 ตามลำดับ
การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางในประเทศไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ผลิตภัณฑ์ที่มีการจำหน่ายเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางนอกรถยนต์นั่ง มีจำนวน
2,608,419 เส้น ยางนอกรถบรรทุกและรถโดยสาร มีจำนวน 929,987 เส้น และยางนอกรถแทรกเตอร์ มีจำนวน 19,735 เส้น ซึ่งเมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อนมีการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.20 , 11.41 และ 3.03 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มีการจำหน่ายลดลงได้แก่ ยางนอกรถกระบะ มี
จำนวน 1,040,801 เส้น และยางนอกรถจักรยาน มีจำนวน1,098,815 เส้น เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนมีการจำหน่ายลดลงร้อยละ 9.72 และ
27.35 ตามลำดับ สำหรับจำหน่ายในประเทศในปี 2549 พบว่าผลิตภัณฑ์ที่มีการจำหน่ายเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางนอกรถบรรทุกและรถโดยสาร ยางนอกรถ
จักรยานยนต์ และยางนอกรถแทรกเตอร์ ส่วนยางนอกรถยนต์นั่ง ยางนอกรถกระบะ และยางนอกรถจักรยานมีการปรับตัวลดลง
2.2 ตลาดส่งออก
สินค้าที่ผลิตและส่งออกในอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ยางแปรรูปขั้นต้น ประกอบด้วย ยางแผ่น ยางแท่ง
น้ำยางข้น และยางพาราอื่น ๆ และผลิตภัณฑ์ยาง ประกอบด้วย ยางยานพาหนะ ถุงมือยาง ยางรัดของ หลอดและท่อ สายพานลำเลียงและส่งกำลัง
ตลาดส่งออกสำคัญของยางแปรรูปขึ้นต้น ได้แก่ ประเทศจีนและญี่ปุ่น รองลงมาเป็น มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ สิงคโปร์ อิตาลี และเยอรมนี
เป็นต้น สำหรับตลาดส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา รองลงมาประกอบไปด้วยญี่ปุ่น จีน มาเลเซีย อิตาลี และเยอรมนี
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 การส่งออกยางแปรรูปขั้นต้น มีมูลค่า 1,391.90 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางมีมูลค่า
812.50 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 11.06 และ 2.88 ตามลำดับ เนื่องจาก การแข็งค่าขึ้นของเงินบาท ทำให้ต่าง
ประเทศชะลอการสั่งซื้อ โดยหันไปซื้อยางพาราจากประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย และซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์ยางจากจีนและเวียดนามมากขึ้น แต่เมื่อ
เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การส่งออกยางแปรรูปขั้นต้น และผลิตภัณฑ์ยาง เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.09 และ 27.53 ตามลำดับ สำหรับการส่งออก
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ผลิตภัณฑ์ที่มีสัดส่วนในการส่งออกมากที่สุดในกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาง คือ ยางยานพาหนะ ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 313.30 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ และถุงมือยาง มีมูลค่า 148.60 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 38.56 และ 18.28 ของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางทั้งหมด ปัจจุบัน
ความต้องการถุงมือยางในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งถุงมือยางที่ใช้ในทางการแพทย์ และถุงมือยางที่ใช้ในอุตสาหกรรมอื่น ๆ เนื่อง
จากกระแสความวิตกกังวลของโรคระบาดและความต้องการรักษาสุขอนามัยของการผลิต
2.3 ตลาดนำเข้า
ผลิตภัณฑ์ยางมีการนำเข้า ได้แก่ ท่อหรือข้อต่อและสายพานลำเลียง ผลิตภัณฑ์ยางวัลแคไนซ์ เช่น ประเก็น ฝารอง และซีล และผลิตภัณฑ์
ยางอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัยเทคโนโลยีชั้นสูงในการผลิต โดยในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้ารวม 158.70 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อนลดลงร้อยละ 9.31 แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.50 สำหรับการนำเข้าปี 2549 มีมูลค่ารวม 625 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.26
3. สรุปและแนวโน้ม
ภาวะโดยรวมของอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางในไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 การผลิตยางพาราลดลงเล็กน้อย สาเหตุเนื่องความ
ผันผวนราคายางพารา เป็นปัจจัยเสี่ยงและเป็นปัจจัยสำคัญต่อการวางแผนการผลิตและการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ยาง ในส่วนของการส่งออกยางพารา
และผลิตภัณฑ์ยาง ในไตรมาส 4 ปี 2549 ปรับตัวลดลงจากการแข็งค่าขึ้นของเงินบาท ทำให้ต่างประเทศชะลอการสั่งซื้อ โดยหันไปซื้อยางพาราจาก
ประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียและซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์ยางจากจีนและเวียดนามมากขึ้น
แนวโน้มในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2550 ราคาน้ำมันดิบคาดว่าปรับตัวสูงขึ้นจากการลดการผลิตของโอเปค ซึ่งจะส่งผลให้ยางสังเคราะห์มี
ราคาสูงตาม งประเทศผู้ใช้ยางหลักโดยเฉพาะจีนจะเปลี่ยนจากการใช้ยางสังเคราะห์ดังกล่าวหันมาใช้ยางธรรมชาติจากไทยเพิ่มขึ้น นอกจากนี้การที่
ภาครัฐมีแผนดำเนินโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง จึงคาดว่าในอนาคตอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางของไทยจะ
มีโครงสร้างอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งยิ่งขึ้น มีการเพิ่มการใช้ยางธรรมชาติ โดยนำมาแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ยางเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มมากขึ้น สามารถ
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางได้หลากหลายชนิดมากขึ้น ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งจะทำให้สามารถเพิ่มขีดความ
สามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศได้
ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง
รายการ หน่วย ไตรมาส % เทียบกับ เทียบกับไตรมาส ปี 2548 ปี 2548 เทียบกับช่วงเดียวกัน
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน เดียวกันของปีก่อน ของปีก่อน
ยางนอกรถยนต์นั่ง เส้น 3,284,790 3,339,516 3,619,097 8.37 10.18 13,307,590 13,194,634 -0.85
ยางนอกรถกระบะ เส้น 1,515,718 1,363,509 1,192,662 -12.53 -21.31 5,695,584 5,453,556 -4.25
ยางนอกรถบรรทุก เส้น 1,026,685 1,064,584 1,149,105 7.94 11.92 4,268,193 4,186,861 -1.91
และรถโดยสาร
ยางนอกรถจักรยานยนต์ เส้น 5,752,119 5,370,534 5,227,162 -2.67 -9.13 21,508,505 22,114,661 2.82
ยางนอกรถจักรยาน เส้น 4,972,308 5,855,654 5,244,873 -10.43 5.48 21,504,819 20,936,916 -2.64
ยางนอกรถแทรกเตอร์ เส้น 45,255 38,189 39,774 4.15 -12.11 185,538 174,917 -5.72
ยางนอกอื่น ๆ เส้น 125,486 141,888 100,240 -29.35 -20.12 590,541 530,211 -10.22
ยางในรถบรรทุกและ เส้น 550,400 560,392 544,161 -2.9 -1.13 2,092,654 2,072,931 -0.94
รถโดยสาร
ยางในรถจักรยานยนต์ เส้น 9,110,286 7,372,163 8,055,508 9.27 -11.58 34,457,439 32,944,151 -4.39
ยางในรถจักรยาน เส้น 4,521,736 5,176,407 5,267,333 1.76 16.49 19,810,522 20,558,381 3.78
ยางรอง เส้น 716,138 958,863 883,805 -7.83 23.41 2,835,191 3,641,751 28.45
ยางหล่อดอก เส้น 62,704 18,425 19,065 3.47 -69.6 225,053 96,810 -56.98
ถุงมือยางถุงมือตรวจ ชิ้น 2,191,012,036 2,052,864,996 2,247,632,542 9.49 2.58 8,305,512,125 8,566,935,437 3.15
ยางรัดของ ตัน 3,603 3,946 3,754 -4.87 4.19 15,254 14,730 -3.44
ยางแผ่น ตัน 68,684 82,687 81,073 -1.95 18.04 277,185 303,010 9.32
ยางแท่ง ตัน 213,603 191,226 187,889 -1.75 -12.04 808,694 804,507 -0.52
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 2 ปริมาณการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศ
รายการ หน่วย ไตรมาส %เทียบกับ %เทียบกับ ปี 2548 ปี 2549 % เทียบกับช่วงเดียวกันของ
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน ไตรมาสเดียวกัน ปีก่อน
ของปีก่อน
ยางนอกรถยนต์นั่ง เส้น 2,585,650 2,552,195 2,608,419 2.2 0.88 10,351,562 10,006,158 -3.34
ยางนอกรถกระบะ เส้น 1,230,870 1,152,892 1,040,801 -9.72 -15.44 4,804,512 4,515,361 -6.02
ยางนอกรถบรรทุก เส้น 742,020 834,761 929,987 11.41 25.33 3,171,010 3,284,049 3.56
และรถโดยสาร
ยางนอกรถจักรยานยนต์ เส้น 3,908,194 3,536,342 4,025,446 13.83 3 14,724,814 15,456,143 4.97
ยางนอกรถจักรยาน เส้น 1,214,358 1,512,495 1,098,815 -27.35 -9.51 4,952,660 4,878,482 -1.5
ยางนอกรถแทรกเตอร์ เส้น 19,161 19,155 19,735 3.03 3 84,710 89,164 5.26
ยางนอกอื่น ๆ เส้น 17,537 22,449 19,527 -13.02 11.35 159,792 78,418 -50.92
ยางในรถบรรทุกและ เส้น 424,551 442,239 419,621 -5.11 -1.16 1,648,949 1,693,515 2.7
รถโดยสาร
ยางในรถจักรยานยนต์ เส้น 6,667,476 4,943,979 5,909,707 19.53 -11.37 25,823,074 23,501,234 -8.99
ยางในรถจักรยาน เส้น 1,749,134 1,941,626 1,955,784 0.73 11.81 7,778,565 7,384,690 -5.06
ยางรอง เส้น 515,460 543,416 510,070 -6.14 -1.05 1,862,058 2,025,853 8.8
ยางหล่อดอก เส้น 63,598 17,498 18,116 3.53 -71.05 225,536 94,963 -57.89
ถุงมือยางถุงมือตรวจ ชิ้น 87,777,978 84,764,910 113,060,976 33.38 28.8 400,927,483 421,734,982 5.19
ยางรัดของ ตัน 251 242 232 -4.13 -7.57 1,157 1,039 -10.2
ยางแผ่น ตัน 15,806 23,016 19,996 -13.12 26.51 99,353 93,156 -6.24
ยางแท่ง ตัน 14,258 11,622 15,632 34.5 9.64 59,079 53,652 -9.19
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 3 มูลค่าการส่งออกของสินค้ายางและผลิตภัณฑ์ยาง
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ ไตรมาส % เทียบกับ %เทียบกับ ปี 2548 ปี 2549 %เทียบกับ
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน ไตรมาสเดียวกัน ช่วงเดียวกัน
ของปีก่อน ปีก่อน
ยางพารา 1,095.20 1,564.90 1,391.90 -11.06 27.09 3,710.00 5,393.80 45.39
ยางแผ่น 407.9 562.3 534.2 -5 30.96 1,318.00 1,909.70 44.89
ยางแท่ง 434.9 643.9 540.8 -16.01 24.35 1,565.00 2,175.20 38.99
น้ำยางข้น 232.3 337.1 295 -12.49 26.99 757.2 1,215.30 60.5
ยางพาราอื่น ๆ 20.1 21.6 21.1 -2.31 4.98 69.8 93.6 34.1
ผลิตภัณฑ์ยาง 637.1 836.6 812.5 -2.88 27.53 2,351.20 3,090.00 31.42
ยางยานพาหนะ 249.1 324.1 313.3 -3.33 25.77 900.4 1,198.60 33.12
ถุงมือยาง 138.5 143.3 148.6 3.7 7.29 515.7 559.9 8.57
ยางรัดของ 12.1 18.4 17.9 -2.72 47.93 47.8 64.9 35.77
หลอดและท่อ 23.9 28.6 29.4 2.8 23.01 86.5 105.8 22.31
สายพานลำเลียงและส่งกำลัง 8.4 12.2 13.2 8.2 57.14 31.3 45.4 45.05
ผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ทางเภสัชกรรม 49.2 51.7 60.9 17.79 23.78 189.2 211.2 11.63
ยางวัลแคไนซ์ 37.4 60.1 43.1 -28.29 15.24 147.7 206 39.47
ผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆ 118.4 198.2 186.1 -6.1 57.18 432.6 698.2 61.4
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ตารางที่ 4 มูลค่าการนำเข้าของสินค้ายางและผลิตภัณฑ์ยาง
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ ไตรมาส % เทียบกับ % เทียบกับไตรมาสเดียวกัน ปี 2548 ปี 2549 %เทียบกับช่วงเดียว
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน ของปีก่อน ของปีก่อน
ท่อหรือข้อต่อและสายพานลำเลียง 23.9 30.6 32.3 5.23 34.73 96.1 115.4 20.08
ผลิตภัณฑ์ยางวัลแคไนซ์ 70.9 88.7 75.2 -15.22 6.06 287.1 309.7 7.87
ผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆ 38 55.7 51.3 -7.9 35 149.8 199.9 33.44
รวม 132.8 175 158.7 -9.31 19.5 533 625 17.26
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
โครงการ เช่น โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่ม Value Creation อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
โครงการจัดตั้งศูนย์ทดสอบยางล้อ และโครงการกำหนดและปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยาง จึงคาดว่าในอนาคตอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางของ
ไทยจะมีโครงสร้างอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งยิ่งขึ้น มีการเพิ่มการใช้ยางธรรมชาติ โดยนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยางเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มมากขึ้น สามารถ
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางได้หลากหลายชนิดมากขึ้น ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งจะทำให้สามารถเพิ่มขีดความ
สามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศได้
1. การผลิต
การผลิตยางแปรรูปขั้นต้นในไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตยางแท่ง 187,889 ตัน และมีปริมาณการผลิตยางแผ่น 81,073
ตัน เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 1.75 และ1.95 ตามลำดับ และเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ปริมาณการผลิตยางแท่งลดลงร้อย
ละ 12.04 แต่ปริมาณการผลิตยางแผ่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.04 สำหรับในปี 2549 มีปริมาณการผลิตยางแท่ง 804,507 ตัน เมื่อเทียบกับปีก่อนลดลงร้อย
ละ 0.52 และมีปริมาณการผลิตยางแผ่น 303,010 ตัน เมื่อเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.32
การผลิตผลิตภัณฑ์ยางในไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากราคายางพาราในปี 2549 มีความผันผวน โดย
ในช่วงไตรมาสที่ 2 ราคายางพาราสูงถึงกิโลกรัมละ 100 บาท ทำให้ต้นทุนการผลิตผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มขึ้น และราคายางพาราได้ปรับตัวลดลงมาตลอด
ตั้งแต่ไตรมาสที่ 3จนถึงไตรมาสที่ 4 ยางพารามีราคาปรับตัวขึ้นลง กิโลกรัมละ 45 - 70 บาท ความผันผวนของราคายางพาราดังกล่าว เป็นปัจจัย
เสี่ยงและเป็นปัจจัยสำคัญต่อการวางแผนการผลิตและการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตผลิตภัณฑ์ยางในไตรมาสนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตเพิ่มขึ้น
ได้แก่ ยางนอกรถยนต์นั่ง มีจำนวน 3,619,097 เส้น ยางนอกรถบรรทุกและรถโดยสาร มีจำนวน 1,149,105 เส้น ยางนอกรถแทรกเตอร์มีจำนวน
39,774 เส้น และถุงมือยางมีจำนวน 2,247,632,542 ชิ้นซึ่งเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนมีการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.37, 7.94 , 4.15 และ 9.49
ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตลดลง ได้แก่ ยางนอกรถกระบะมีจำนวน 1,192,662 เส้น ยางนอกรถจักรยานยนต์มีจำนวน 5,227,162 เส้น
และยางนอกรถจักรยานมีจำนวน 5,244,873 เส้น เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนมีการผลิตลดลงร้อยละ 12.53 , 2.67 และ 10.43 ตามลำดับ
สำหรับการผลิตในปี 2549 พบว่าปริมาณลดลงเกือบทุกรายการ ยกเว้น ยางนอกรถจักรยานยนต์ ยางในรถจักรยาน และถุงมือยาง ซึ่งมีการผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 2.82 , 3.78 และ 3.15 ตามลำดับ
2. การตลาด
2.1 ตลาดในประเทศ
การจำหน่ายในประเทศไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ปริมาณการจำหน่ายยางแท่ง 15,632 ตัน เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนและไตรมาสเดียวกัน
ของปีก่อน ปริมาณการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.50 และ 9.64 ตามลำดับ ในส่วนของยางแผ่นมีปริมาณการจำหน่าย 19,996 ตัน เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อนลดลงร้อยละ 13.12 แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.51 สำหรับปี 2549 มีปริมาณการจำหน่ายยางแท่ง
53,652 ตัน และยางแผ่น 93,156 ตัน เมื่อเทียบกับปีก่อน ลดลงร้อยละ 9.19 และ 6.24 ตามลำดับ
การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางในประเทศไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ผลิตภัณฑ์ที่มีการจำหน่ายเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางนอกรถยนต์นั่ง มีจำนวน
2,608,419 เส้น ยางนอกรถบรรทุกและรถโดยสาร มีจำนวน 929,987 เส้น และยางนอกรถแทรกเตอร์ มีจำนวน 19,735 เส้น ซึ่งเมื่อเทียบกับ
ไตรมาสก่อนมีการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.20 , 11.41 และ 3.03 ตามลำดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มีการจำหน่ายลดลงได้แก่ ยางนอกรถกระบะ มี
จำนวน 1,040,801 เส้น และยางนอกรถจักรยาน มีจำนวน1,098,815 เส้น เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนมีการจำหน่ายลดลงร้อยละ 9.72 และ
27.35 ตามลำดับ สำหรับจำหน่ายในประเทศในปี 2549 พบว่าผลิตภัณฑ์ที่มีการจำหน่ายเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางนอกรถบรรทุกและรถโดยสาร ยางนอกรถ
จักรยานยนต์ และยางนอกรถแทรกเตอร์ ส่วนยางนอกรถยนต์นั่ง ยางนอกรถกระบะ และยางนอกรถจักรยานมีการปรับตัวลดลง
2.2 ตลาดส่งออก
สินค้าที่ผลิตและส่งออกในอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ยางแปรรูปขั้นต้น ประกอบด้วย ยางแผ่น ยางแท่ง
น้ำยางข้น และยางพาราอื่น ๆ และผลิตภัณฑ์ยาง ประกอบด้วย ยางยานพาหนะ ถุงมือยาง ยางรัดของ หลอดและท่อ สายพานลำเลียงและส่งกำลัง
ตลาดส่งออกสำคัญของยางแปรรูปขึ้นต้น ได้แก่ ประเทศจีนและญี่ปุ่น รองลงมาเป็น มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ สิงคโปร์ อิตาลี และเยอรมนี
เป็นต้น สำหรับตลาดส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา รองลงมาประกอบไปด้วยญี่ปุ่น จีน มาเลเซีย อิตาลี และเยอรมนี
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 การส่งออกยางแปรรูปขั้นต้น มีมูลค่า 1,391.90 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางมีมูลค่า
812.50 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ 11.06 และ 2.88 ตามลำดับ เนื่องจาก การแข็งค่าขึ้นของเงินบาท ทำให้ต่าง
ประเทศชะลอการสั่งซื้อ โดยหันไปซื้อยางพาราจากประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย และซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์ยางจากจีนและเวียดนามมากขึ้น แต่เมื่อ
เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน การส่งออกยางแปรรูปขั้นต้น และผลิตภัณฑ์ยาง เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.09 และ 27.53 ตามลำดับ สำหรับการส่งออก
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ผลิตภัณฑ์ที่มีสัดส่วนในการส่งออกมากที่สุดในกลุ่มผลิตภัณฑ์ยาง คือ ยางยานพาหนะ ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 313.30 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ และถุงมือยาง มีมูลค่า 148.60 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 38.56 และ 18.28 ของมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางทั้งหมด ปัจจุบัน
ความต้องการถุงมือยางในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งถุงมือยางที่ใช้ในทางการแพทย์ และถุงมือยางที่ใช้ในอุตสาหกรรมอื่น ๆ เนื่อง
จากกระแสความวิตกกังวลของโรคระบาดและความต้องการรักษาสุขอนามัยของการผลิต
2.3 ตลาดนำเข้า
ผลิตภัณฑ์ยางมีการนำเข้า ได้แก่ ท่อหรือข้อต่อและสายพานลำเลียง ผลิตภัณฑ์ยางวัลแคไนซ์ เช่น ประเก็น ฝารอง และซีล และผลิตภัณฑ์
ยางอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัยเทคโนโลยีชั้นสูงในการผลิต โดยในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้ารวม 158.70 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อนลดลงร้อยละ 9.31 แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.50 สำหรับการนำเข้าปี 2549 มีมูลค่ารวม 625 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.26
3. สรุปและแนวโน้ม
ภาวะโดยรวมของอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางในไตรมาสที่ 4 ของปี 2549 การผลิตยางพาราลดลงเล็กน้อย สาเหตุเนื่องความ
ผันผวนราคายางพารา เป็นปัจจัยเสี่ยงและเป็นปัจจัยสำคัญต่อการวางแผนการผลิตและการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ยาง ในส่วนของการส่งออกยางพารา
และผลิตภัณฑ์ยาง ในไตรมาส 4 ปี 2549 ปรับตัวลดลงจากการแข็งค่าขึ้นของเงินบาท ทำให้ต่างประเทศชะลอการสั่งซื้อ โดยหันไปซื้อยางพาราจาก
ประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียและซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์ยางจากจีนและเวียดนามมากขึ้น
แนวโน้มในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2550 ราคาน้ำมันดิบคาดว่าปรับตัวสูงขึ้นจากการลดการผลิตของโอเปค ซึ่งจะส่งผลให้ยางสังเคราะห์มี
ราคาสูงตาม งประเทศผู้ใช้ยางหลักโดยเฉพาะจีนจะเปลี่ยนจากการใช้ยางสังเคราะห์ดังกล่าวหันมาใช้ยางธรรมชาติจากไทยเพิ่มขึ้น นอกจากนี้การที่
ภาครัฐมีแผนดำเนินโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง จึงคาดว่าในอนาคตอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางของไทยจะ
มีโครงสร้างอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งยิ่งขึ้น มีการเพิ่มการใช้ยางธรรมชาติ โดยนำมาแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ยางเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มมากขึ้น สามารถ
ผลิตผลิตภัณฑ์ยางได้หลากหลายชนิดมากขึ้น ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งจะทำให้สามารถเพิ่มขีดความ
สามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศได้
ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง
รายการ หน่วย ไตรมาส % เทียบกับ เทียบกับไตรมาส ปี 2548 ปี 2548 เทียบกับช่วงเดียวกัน
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน เดียวกันของปีก่อน ของปีก่อน
ยางนอกรถยนต์นั่ง เส้น 3,284,790 3,339,516 3,619,097 8.37 10.18 13,307,590 13,194,634 -0.85
ยางนอกรถกระบะ เส้น 1,515,718 1,363,509 1,192,662 -12.53 -21.31 5,695,584 5,453,556 -4.25
ยางนอกรถบรรทุก เส้น 1,026,685 1,064,584 1,149,105 7.94 11.92 4,268,193 4,186,861 -1.91
และรถโดยสาร
ยางนอกรถจักรยานยนต์ เส้น 5,752,119 5,370,534 5,227,162 -2.67 -9.13 21,508,505 22,114,661 2.82
ยางนอกรถจักรยาน เส้น 4,972,308 5,855,654 5,244,873 -10.43 5.48 21,504,819 20,936,916 -2.64
ยางนอกรถแทรกเตอร์ เส้น 45,255 38,189 39,774 4.15 -12.11 185,538 174,917 -5.72
ยางนอกอื่น ๆ เส้น 125,486 141,888 100,240 -29.35 -20.12 590,541 530,211 -10.22
ยางในรถบรรทุกและ เส้น 550,400 560,392 544,161 -2.9 -1.13 2,092,654 2,072,931 -0.94
รถโดยสาร
ยางในรถจักรยานยนต์ เส้น 9,110,286 7,372,163 8,055,508 9.27 -11.58 34,457,439 32,944,151 -4.39
ยางในรถจักรยาน เส้น 4,521,736 5,176,407 5,267,333 1.76 16.49 19,810,522 20,558,381 3.78
ยางรอง เส้น 716,138 958,863 883,805 -7.83 23.41 2,835,191 3,641,751 28.45
ยางหล่อดอก เส้น 62,704 18,425 19,065 3.47 -69.6 225,053 96,810 -56.98
ถุงมือยางถุงมือตรวจ ชิ้น 2,191,012,036 2,052,864,996 2,247,632,542 9.49 2.58 8,305,512,125 8,566,935,437 3.15
ยางรัดของ ตัน 3,603 3,946 3,754 -4.87 4.19 15,254 14,730 -3.44
ยางแผ่น ตัน 68,684 82,687 81,073 -1.95 18.04 277,185 303,010 9.32
ยางแท่ง ตัน 213,603 191,226 187,889 -1.75 -12.04 808,694 804,507 -0.52
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 2 ปริมาณการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศ
รายการ หน่วย ไตรมาส %เทียบกับ %เทียบกับ ปี 2548 ปี 2549 % เทียบกับช่วงเดียวกันของ
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน ไตรมาสเดียวกัน ปีก่อน
ของปีก่อน
ยางนอกรถยนต์นั่ง เส้น 2,585,650 2,552,195 2,608,419 2.2 0.88 10,351,562 10,006,158 -3.34
ยางนอกรถกระบะ เส้น 1,230,870 1,152,892 1,040,801 -9.72 -15.44 4,804,512 4,515,361 -6.02
ยางนอกรถบรรทุก เส้น 742,020 834,761 929,987 11.41 25.33 3,171,010 3,284,049 3.56
และรถโดยสาร
ยางนอกรถจักรยานยนต์ เส้น 3,908,194 3,536,342 4,025,446 13.83 3 14,724,814 15,456,143 4.97
ยางนอกรถจักรยาน เส้น 1,214,358 1,512,495 1,098,815 -27.35 -9.51 4,952,660 4,878,482 -1.5
ยางนอกรถแทรกเตอร์ เส้น 19,161 19,155 19,735 3.03 3 84,710 89,164 5.26
ยางนอกอื่น ๆ เส้น 17,537 22,449 19,527 -13.02 11.35 159,792 78,418 -50.92
ยางในรถบรรทุกและ เส้น 424,551 442,239 419,621 -5.11 -1.16 1,648,949 1,693,515 2.7
รถโดยสาร
ยางในรถจักรยานยนต์ เส้น 6,667,476 4,943,979 5,909,707 19.53 -11.37 25,823,074 23,501,234 -8.99
ยางในรถจักรยาน เส้น 1,749,134 1,941,626 1,955,784 0.73 11.81 7,778,565 7,384,690 -5.06
ยางรอง เส้น 515,460 543,416 510,070 -6.14 -1.05 1,862,058 2,025,853 8.8
ยางหล่อดอก เส้น 63,598 17,498 18,116 3.53 -71.05 225,536 94,963 -57.89
ถุงมือยางถุงมือตรวจ ชิ้น 87,777,978 84,764,910 113,060,976 33.38 28.8 400,927,483 421,734,982 5.19
ยางรัดของ ตัน 251 242 232 -4.13 -7.57 1,157 1,039 -10.2
ยางแผ่น ตัน 15,806 23,016 19,996 -13.12 26.51 99,353 93,156 -6.24
ยางแท่ง ตัน 14,258 11,622 15,632 34.5 9.64 59,079 53,652 -9.19
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 3 มูลค่าการส่งออกของสินค้ายางและผลิตภัณฑ์ยาง
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ ไตรมาส % เทียบกับ %เทียบกับ ปี 2548 ปี 2549 %เทียบกับ
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน ไตรมาสเดียวกัน ช่วงเดียวกัน
ของปีก่อน ปีก่อน
ยางพารา 1,095.20 1,564.90 1,391.90 -11.06 27.09 3,710.00 5,393.80 45.39
ยางแผ่น 407.9 562.3 534.2 -5 30.96 1,318.00 1,909.70 44.89
ยางแท่ง 434.9 643.9 540.8 -16.01 24.35 1,565.00 2,175.20 38.99
น้ำยางข้น 232.3 337.1 295 -12.49 26.99 757.2 1,215.30 60.5
ยางพาราอื่น ๆ 20.1 21.6 21.1 -2.31 4.98 69.8 93.6 34.1
ผลิตภัณฑ์ยาง 637.1 836.6 812.5 -2.88 27.53 2,351.20 3,090.00 31.42
ยางยานพาหนะ 249.1 324.1 313.3 -3.33 25.77 900.4 1,198.60 33.12
ถุงมือยาง 138.5 143.3 148.6 3.7 7.29 515.7 559.9 8.57
ยางรัดของ 12.1 18.4 17.9 -2.72 47.93 47.8 64.9 35.77
หลอดและท่อ 23.9 28.6 29.4 2.8 23.01 86.5 105.8 22.31
สายพานลำเลียงและส่งกำลัง 8.4 12.2 13.2 8.2 57.14 31.3 45.4 45.05
ผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ทางเภสัชกรรม 49.2 51.7 60.9 17.79 23.78 189.2 211.2 11.63
ยางวัลแคไนซ์ 37.4 60.1 43.1 -28.29 15.24 147.7 206 39.47
ผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆ 118.4 198.2 186.1 -6.1 57.18 432.6 698.2 61.4
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ตารางที่ 4 มูลค่าการนำเข้าของสินค้ายางและผลิตภัณฑ์ยาง
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ ไตรมาส % เทียบกับ % เทียบกับไตรมาสเดียวกัน ปี 2548 ปี 2549 %เทียบกับช่วงเดียว
Apr-48 Mar-49 Apr-49 ไตรมาสก่อน ของปีก่อน ของปีก่อน
ท่อหรือข้อต่อและสายพานลำเลียง 23.9 30.6 32.3 5.23 34.73 96.1 115.4 20.08
ผลิตภัณฑ์ยางวัลแคไนซ์ 70.9 88.7 75.2 -15.22 6.06 287.1 309.7 7.87
ผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆ 38 55.7 51.3 -7.9 35 149.8 199.9 33.44
รวม 132.8 175 158.7 -9.31 19.5 533 625 17.26
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-