สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นในทุกพื้นที่จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลผลิตยังคงเข้าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ความต้องการบริโภคมีมากขึ้น เนื่องจากเข้าสู่ช่วงเทศกาลท่องเที่ยวและเฉลิมฉลองปีใหม่ แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.59 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.19 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.81 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 49.90 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 47.47 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.08 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 52.05 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,200 บาท (บวกลบ 45 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 50.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.98 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 59.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.68
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ตลาดไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้สูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากเข้าสู่ช่วงเทศกาลเฉลิมฉลองต่าง ๆ ทำให้ความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาปรับตัวสูงขึ้น แนวโน้มคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
จากการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 11 นายกรัฐมนตรีไทยได้เสนอให้ประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมมือในการเก็บสต็อกวัคซีน เพื่อควบคุมการระบาดของสถานการณ์ไข้หวัดนกในกรณีฉุกเฉิน รวมทั้งการสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นในภูมิภาค ซึ่งจะนำไปสู่ประชาคมอาเซียนที่เข้มแข็ง
ผลพวงของวิกฤติไข้หวัดนกที่ระบาด ทำให้ระบบปศุสัตว์ทั้งประเทศปรับตัวไปสู่ระบบปิด โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้ส่งเสริมการลงทุนการเลี้ยงไก่ระบบปิด โดยผู้เลี้ยงไก่จะได้รับสิทธิประโยชน์ คือ ได้รับยกเว้นภาษีนำเข้าสำหรับเครื่องจักรและได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 8 ปี ไม่ว่าจะตั้งอยู่ในเขตใด และสิทธิประโยชน์อื่นให้ได้รับตามเกณฑ์ที่ตั้งในแต่ละเขต ซึ่งทั้งบริษัทต่าง ๆ และเกษตรกรที่ทำข้อตกลงกับโรงงานหรือคอนแทคฟาร์มมิ่ง ซึ่งมีการลงทุนประมาณ 30-60 ล้านบาท/ราย ซึ่งธนาคารออมสินและธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK) พร้อมสนับสนุนเงินกู้เป็นกรณีพิเศษ และแนวโน้มของภาพรวมอุตสาหกรรมไก่ปรุงสุกของไทยในปี 2549 คาดว่าจะสามารถส่งออกไก่แปรรูปปรุงสุกได้ถึง 400,00 ตัน มูลค่าเกือบ 50,000 ล้านบาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 33.43 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 33.03 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 39.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 33.49 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 30.52 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 29.37 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 15.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 26.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 22.64 ส่วนราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 39.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 11.27
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากช่วงนี้สภาพอากาศค่อยข้างเย็นลง เอื้ออำนวยให้ผลผลิตมีมากขึ้น ความต้องการบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 213 บาท ลดลงจาก ร้อยฟองละ 219 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.96 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 197 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 259 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 196 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 239 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 17 บาท ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 196.33 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 285 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 287 บาท จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 238 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 306 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 286 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 294 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 386 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.34 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 48.78 จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.15 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 42.32 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 54.57 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 46.62 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 50.05 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.54 จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 36.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.72 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.75 ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 12-18 ธันวาคม 2548--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นในทุกพื้นที่จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลผลิตยังคงเข้าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ความต้องการบริโภคมีมากขึ้น เนื่องจากเข้าสู่ช่วงเทศกาลท่องเที่ยวและเฉลิมฉลองปีใหม่ แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.59 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.19 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.81 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 49.90 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 47.47 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.08 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 52.05 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,200 บาท (บวกลบ 45 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 50.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.98 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 59.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.68
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ตลาดไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้สูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากเข้าสู่ช่วงเทศกาลเฉลิมฉลองต่าง ๆ ทำให้ความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาปรับตัวสูงขึ้น แนวโน้มคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
จากการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 11 นายกรัฐมนตรีไทยได้เสนอให้ประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมมือในการเก็บสต็อกวัคซีน เพื่อควบคุมการระบาดของสถานการณ์ไข้หวัดนกในกรณีฉุกเฉิน รวมทั้งการสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นในภูมิภาค ซึ่งจะนำไปสู่ประชาคมอาเซียนที่เข้มแข็ง
ผลพวงของวิกฤติไข้หวัดนกที่ระบาด ทำให้ระบบปศุสัตว์ทั้งประเทศปรับตัวไปสู่ระบบปิด โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้ส่งเสริมการลงทุนการเลี้ยงไก่ระบบปิด โดยผู้เลี้ยงไก่จะได้รับสิทธิประโยชน์ คือ ได้รับยกเว้นภาษีนำเข้าสำหรับเครื่องจักรและได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 8 ปี ไม่ว่าจะตั้งอยู่ในเขตใด และสิทธิประโยชน์อื่นให้ได้รับตามเกณฑ์ที่ตั้งในแต่ละเขต ซึ่งทั้งบริษัทต่าง ๆ และเกษตรกรที่ทำข้อตกลงกับโรงงานหรือคอนแทคฟาร์มมิ่ง ซึ่งมีการลงทุนประมาณ 30-60 ล้านบาท/ราย ซึ่งธนาคารออมสินและธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK) พร้อมสนับสนุนเงินกู้เป็นกรณีพิเศษ และแนวโน้มของภาพรวมอุตสาหกรรมไก่ปรุงสุกของไทยในปี 2549 คาดว่าจะสามารถส่งออกไก่แปรรูปปรุงสุกได้ถึง 400,00 ตัน มูลค่าเกือบ 50,000 ล้านบาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 33.43 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 33.03 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 39.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 33.49 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 30.52 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 29.37 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 15.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 26.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 22.64 ส่วนราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 39.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.50 ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 11.27
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากช่วงนี้สภาพอากาศค่อยข้างเย็นลง เอื้ออำนวยให้ผลผลิตมีมากขึ้น ความต้องการบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 213 บาท ลดลงจาก ร้อยฟองละ 219 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.96 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 197 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 259 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 196 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 239 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 17 บาท ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 196.33 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 285 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 287 บาท จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 238 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 306 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 286 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 294 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 386 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 49.34 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 48.78 จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.15 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 42.32 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 54.57 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 46.62 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 50.05 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.54 จากสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 36.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.72 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.75 ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 12-18 ธันวาคม 2548--
-พห-