กว่า 2% จึงส่งผลให้ต้องยกเลิกการเก็บภาษี AD กับสินค้าเหล็กแผ่นรีดร้อน ของบริษัทดังกล่าว
รัฐบาลประเทศเวียดนามได้ออกใบอนุญาตให้ บ. ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) ผู้ผลิตเหล็กรายใหญ่ของประเทศไทยและบริษัท
ในเครือของไทยคูน กรุ๊ป สร้างโรงงานผลิตเหล็กโดยในเฟสแรกจะผลิตเหล็กแท่งเล็ก billet และในเฟสที่ 2 มีแผนจะผลิตเหล็กแท่งแบน (slab)
และเหล็กทรงแบน โดยดำเนินการโดย ไทยคูน เวิลด์ไวด์ สตีล (เวียดนาม) บริษัทร่วมทุนระหว่างไทยคูนและไจ๋หนาน ไอออน แอนด์ สตีล กรุ๊ป
บริษัทเหล็กจากจีน ซึ่งโรงงานแห่งนี้ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจดุงกวาต ในจังหวัดกว่างหงาย ของเวียดนาม และจะเริ่มดำเนินการก่อสร้างในอีก
6 เดือนข้างหน้า อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าประเทศเวียดนามจะไม่มีแร่เหล็กต้องนำเข้ามาจากประเทศออสเตรเลีย อินเดียและบราซิล แต่เวียดนาม
เป็นตลาดที่ใหญ่ ทั้งนี้ หากโรงงานนี้แล้วเสร็จ จะสามารถผลิตแท่งเล็ก billet ได้มากถึง 2 ล้านเมตริกตันต่อปี พร้อมวางแผนที่จะลงทุนในระยะที่
2 เพิ่มอีก 500 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 1.86 หมื่นล้านบาท) เพื่อกระตุ้นกำลังการผลิตเพิ่ม
ผู้ประกอบการเหมืองแร่ยังคงมีอำนาจในการต่อรองราคาสูงเนื่องจาก เนื่องจากความต้องการใช้ที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่
ปริมาณแร่เหล็กจะเพิ่มมากขึ้น 6-7 % ซึ่งอาจมีผลให้ราคาขายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 % ประกอบกับมีจำนวนผู้ผลิตรายใหญ่เพียง 3 รายเท่านั้นที่ครอบ
ครองแร่เหล็กกว่า 70 % ซึ่งอาจทำให้พวกเขาขึ้นราคาขายได้ แต่อย่างไรก็ตามผู้ประกอบการเหมืองแร่ได้พยายามเพิ่มผลผลิตเป็น 50 ล้านตันต่อ
ปี ไปจนถึงปี 2010 โดยในปีนี้คาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดโลกในปริมาณ 875 ล้านตัน
3.แนวโน้ม
แนวโน้มสถานการณ์เหล็กโดยรวมในประเทศในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน คาดการณ์ว่ายังคงทรงตัว
โดยในส่วนของการผลิตและการใช้ในประเทศของเหล็กทรงยาวมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็นผลมาจากความต้องการใช้เพื่อการบูรณะและซ่อม
แซมที่อยู่อาศัย รวมถึงสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ถนน หลังจากประสบปัญหาอุทกภัยในหลายพื้นที่ของประเทศ สำหรับในส่วนของเหล็กทรงแบนคาดการณ์
ว่าการผลิตจะขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่จะเป็นการผลิตเพื่อการส่งออก เนื่องจากความต้องการใช้ในประเทศยังคงทรงตัวอยู่ ขณะที่ความต้องการ
ใช้เหล็กของโลกยังคงเพิ่มสูงอยู่ จึงเป็นโอกาสที่ดีของผู้ผลิตไทยที่จะเร่งขยายสัดส่วนการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ตะวันออกกลาง และ
ยุโรป เพิ่มมากขึ้น
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
รัฐบาลประเทศเวียดนามได้ออกใบอนุญาตให้ บ. ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) ผู้ผลิตเหล็กรายใหญ่ของประเทศไทยและบริษัท
ในเครือของไทยคูน กรุ๊ป สร้างโรงงานผลิตเหล็กโดยในเฟสแรกจะผลิตเหล็กแท่งเล็ก billet และในเฟสที่ 2 มีแผนจะผลิตเหล็กแท่งแบน (slab)
และเหล็กทรงแบน โดยดำเนินการโดย ไทยคูน เวิลด์ไวด์ สตีล (เวียดนาม) บริษัทร่วมทุนระหว่างไทยคูนและไจ๋หนาน ไอออน แอนด์ สตีล กรุ๊ป
บริษัทเหล็กจากจีน ซึ่งโรงงานแห่งนี้ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจดุงกวาต ในจังหวัดกว่างหงาย ของเวียดนาม และจะเริ่มดำเนินการก่อสร้างในอีก
6 เดือนข้างหน้า อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าประเทศเวียดนามจะไม่มีแร่เหล็กต้องนำเข้ามาจากประเทศออสเตรเลีย อินเดียและบราซิล แต่เวียดนาม
เป็นตลาดที่ใหญ่ ทั้งนี้ หากโรงงานนี้แล้วเสร็จ จะสามารถผลิตแท่งเล็ก billet ได้มากถึง 2 ล้านเมตริกตันต่อปี พร้อมวางแผนที่จะลงทุนในระยะที่
2 เพิ่มอีก 500 ล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 1.86 หมื่นล้านบาท) เพื่อกระตุ้นกำลังการผลิตเพิ่ม
ผู้ประกอบการเหมืองแร่ยังคงมีอำนาจในการต่อรองราคาสูงเนื่องจาก เนื่องจากความต้องการใช้ที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่
ปริมาณแร่เหล็กจะเพิ่มมากขึ้น 6-7 % ซึ่งอาจมีผลให้ราคาขายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 % ประกอบกับมีจำนวนผู้ผลิตรายใหญ่เพียง 3 รายเท่านั้นที่ครอบ
ครองแร่เหล็กกว่า 70 % ซึ่งอาจทำให้พวกเขาขึ้นราคาขายได้ แต่อย่างไรก็ตามผู้ประกอบการเหมืองแร่ได้พยายามเพิ่มผลผลิตเป็น 50 ล้านตันต่อ
ปี ไปจนถึงปี 2010 โดยในปีนี้คาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดโลกในปริมาณ 875 ล้านตัน
3.แนวโน้ม
แนวโน้มสถานการณ์เหล็กโดยรวมในประเทศในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน คาดการณ์ว่ายังคงทรงตัว
โดยในส่วนของการผลิตและการใช้ในประเทศของเหล็กทรงยาวมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็นผลมาจากความต้องการใช้เพื่อการบูรณะและซ่อม
แซมที่อยู่อาศัย รวมถึงสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ถนน หลังจากประสบปัญหาอุทกภัยในหลายพื้นที่ของประเทศ สำหรับในส่วนของเหล็กทรงแบนคาดการณ์
ว่าการผลิตจะขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่จะเป็นการผลิตเพื่อการส่งออก เนื่องจากความต้องการใช้ในประเทศยังคงทรงตัวอยู่ ขณะที่ความต้องการ
ใช้เหล็กของโลกยังคงเพิ่มสูงอยู่ จึงเป็นโอกาสที่ดีของผู้ผลิตไทยที่จะเร่งขยายสัดส่วนการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ตะวันออกกลาง และ
ยุโรป เพิ่มมากขึ้น
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-