การตลาด
การนำเข้า
ไตรมาส 3 ปี 2549 การนำเข้าเคมีภัณฑ์อนินทรีย์มีมูลค่า 9,827 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.60 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่าการนำเข้า 21,582 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.10 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.79 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนปุ๋ยมีมูลค่านำเข้า 10,628 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 11.49
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว ลดลงร้อยละ 5.08 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเครื่องสำอางมีมูลค่านำเข้า 4,569 ล้านบาท ลดลงร้อย
ละ 1.59 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.85 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q3/Q2 2549 Q3 2549 / Q3 2548
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 9,344 9,821 9,827 0.06 4.6
1.2 อินทรีย์ * 29 21,582 22,023 22,266 1.1 3.79
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 15,798 15,368 15,571 1.32 14.4
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 7,853 12,008 10,628 -11.49 -5.08
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 7,831 8,267 8,745 5.78 2.27
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 4,440 4,643 4,569 -1.59 6.85
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 4,022 3,828 3,800 -0.73 -3.48
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
การส่งออก
ไตรมาส 3 ปี 2549 การส่งออกเคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่า 4,802 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.52 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้วและลดลง
ร้อยละ12.02เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเคมีภัณฑ์อนินทรีย์มีมูลค่าส่งออก 2,560 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.82 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 45.45 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนเครื่องสำอางหรือสิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกายมีมูลค่าส่งออก 7,513 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.28 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 1.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน อุตสาหกรรมปุ๋ยมีมูลค่าการส่ง
ออก 647 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.13 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 33.23 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q3/Q2 2549 Q3 2549/Q3 2548
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 2,049 1,913 2,560 33.82 45.45
1.2 อินทรีย์ * 29 4,241 4,230 4,802 13.52 -12.02
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 2,785 2,923 3,202 9.54 32.1
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 301 534 647 21.13 -33.23
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 2,129 2,355 2,223 -5.61 -2.33
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 7,129 6,045 7,513 24.28 -1.94
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 2,510 2,552 3,208 25.71 -2.2
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
* เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
สำหรับอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในไตรมาสนี้มีการส่งออกมูลค่า 7,513 ล้านบาทซึ่งเพิ่มสูงขึ้นกว่าไตรมาสที่แล้วมาก เนื่องจากเครื่อง
สำอางไทยที่มีส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและสมุนไพรยังขยายตัวได้ดีในตลาดต่างประเทศและยังเป็นที่นิยมของทั้งชาวไทยและต่างชาติ แหล่งตลาด
ส่งออกเครื่องสำอาง สบู่และผลิตภัณฑ์รักษาผิวที่สำคัญได้แก่ ญี่ปุ่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย ทั้งนี้ตลาดใหม่ที่ขยายการส่งออกได้ดี
ได้แก่ ออสเตรเลีย เวียดนาม อินเดีย
แนวโน้ม
แนวโน้มการส่งออกในช่วงครึ่งปีหลังนี้มีปัจจัยเสี่ยงจากการชะลอการสั่งซื้อเพื่อรอดูสถานการณ์และการต่อรองราคามากขึ้นโดยผู้ซื้อต่าง
ประเทศที่ต้องพิจารณาราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ราคาวัตถุดิบ ค่าสาธารณูปโภคและค่าระวางเรือที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงค่าเงินบาทที่ผันผวนหรืออัตรา
ดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้น
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
การนำเข้า
ไตรมาส 3 ปี 2549 การนำเข้าเคมีภัณฑ์อนินทรีย์มีมูลค่า 9,827 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.06 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.60 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่าการนำเข้า 21,582 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.10 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.79 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนปุ๋ยมีมูลค่านำเข้า 10,628 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 11.49
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว ลดลงร้อยละ 5.08 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเครื่องสำอางมีมูลค่านำเข้า 4,569 ล้านบาท ลดลงร้อย
ละ 1.59 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.85 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q3/Q2 2549 Q3 2549 / Q3 2548
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 9,344 9,821 9,827 0.06 4.6
1.2 อินทรีย์ * 29 21,582 22,023 22,266 1.1 3.79
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 15,798 15,368 15,571 1.32 14.4
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 7,853 12,008 10,628 -11.49 -5.08
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 7,831 8,267 8,745 5.78 2.27
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 4,440 4,643 4,569 -1.59 6.85
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 4,022 3,828 3,800 -0.73 -3.48
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
การส่งออก
ไตรมาส 3 ปี 2549 การส่งออกเคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่า 4,802 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.52 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้วและลดลง
ร้อยละ12.02เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเคมีภัณฑ์อนินทรีย์มีมูลค่าส่งออก 2,560 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.82 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว
และเพิ่มขึ้นร้อยละ 45.45 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนเครื่องสำอางหรือสิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกายมีมูลค่าส่งออก 7,513 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.28 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 1.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน อุตสาหกรรมปุ๋ยมีมูลค่าการส่ง
ออก 647 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.13 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 33.23 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q3/Q2 2549 Q3 2549/Q3 2548
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 2,049 1,913 2,560 33.82 45.45
1.2 อินทรีย์ * 29 4,241 4,230 4,802 13.52 -12.02
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 2,785 2,923 3,202 9.54 32.1
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 301 534 647 21.13 -33.23
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 2,129 2,355 2,223 -5.61 -2.33
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 7,129 6,045 7,513 24.28 -1.94
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 2,510 2,552 3,208 25.71 -2.2
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
* เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
สำหรับอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในไตรมาสนี้มีการส่งออกมูลค่า 7,513 ล้านบาทซึ่งเพิ่มสูงขึ้นกว่าไตรมาสที่แล้วมาก เนื่องจากเครื่อง
สำอางไทยที่มีส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและสมุนไพรยังขยายตัวได้ดีในตลาดต่างประเทศและยังเป็นที่นิยมของทั้งชาวไทยและต่างชาติ แหล่งตลาด
ส่งออกเครื่องสำอาง สบู่และผลิตภัณฑ์รักษาผิวที่สำคัญได้แก่ ญี่ปุ่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย ทั้งนี้ตลาดใหม่ที่ขยายการส่งออกได้ดี
ได้แก่ ออสเตรเลีย เวียดนาม อินเดีย
แนวโน้ม
แนวโน้มการส่งออกในช่วงครึ่งปีหลังนี้มีปัจจัยเสี่ยงจากการชะลอการสั่งซื้อเพื่อรอดูสถานการณ์และการต่อรองราคามากขึ้นโดยผู้ซื้อต่าง
ประเทศที่ต้องพิจารณาราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ราคาวัตถุดิบ ค่าสาธารณูปโภคและค่าระวางเรือที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงค่าเงินบาทที่ผันผวนหรืออัตรา
ดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้น
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-