การตลาด
การนำเข้า
ไตรมาส 4 ปี 2549 การนำเข้าเคมีภัณฑ์อนินทรีย์มีมูลค่า 10,188 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.67 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.12 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่าการนำเข้า 21,848 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 1.88 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.73 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนปุ๋ยมีมูลค่านำเข้า 4,889 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 54 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสที่แล้ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเครื่องสำอางมีมูลค่านำเข้า 3,750 ล้านบาท ลดลงร้อยละ
17.93 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 16.41 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี มีการนำเข้าลดลงเนื่องจากเป็นช่วงวัฏจักรของอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี (Life Cycle) และ ผลจากการดำเนินงานขับ
เคลื่อนวาระแห่งชาติเกษตรอินทรีย์ในปี 2549 ที่มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรได้ตระหนักถึงผลดีของการปรับเปลี่ยนระบบการผลิต จาก
เกษตรเคมีมาเป็นเกษตรอินทรีย์ แหล่งนำเข้าที่สำคัญได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย และเกาหลีใต้ ตามลำดับ
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q4/2548 Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q4/Q3ปี49 Q4/49กับQ4/48
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 9,692 9,344 9,821 9,827 10,188 3.67 5.12
1.2 อินทรีย์ * 29 20,471 21,582 22,023 22,266 21,848 -1.88 6.73
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 15,037 15,798 15,368 15,571 13,396 -13.97 -10.91
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 3,613 7,853 12,008 10,628 4,889 -54 35.32
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 8,203 7,831 8,267 8,745 7,826 -10.51 -4.6
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 4,486 4,440 4,643 4,569 3,750 -17.93 -16.41
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 4,066 4,022 3,828 3,800 3,598 -5.32 -11.51
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
การส่งออก
ไตรมาส 4 ปี 2549 การส่งออกเคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่า 4,568 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 4.87 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลง
ร้อยละ 12.14 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เคมีภัณฑ์
อนินทรีย์มีมูลค่าส่งออก 2,598 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.48 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.38 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน ส่วนเครื่องสำอางหรือสิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกายมีมูลค่าส่งออก 6,991 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 6.95 เมื่อเทียบกับไตร
มาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.47 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน อุตสาหกรรมปุ๋ยมีมูลค่าการส่งออก 597 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 7.73 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 29.01 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ประเภท พิกัด มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q4/2548 Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q4/Q3ปี49 Q4/49กับQ4/48
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 1,864 2,049 1,913 2,560 2,598 1.48 39.38
1.2 อินทรีย์ * 29 5,199 4,241 4,230 4,802 4,568 -4.87 -12.14
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 2,258 2,785 2,923 3,202 3,434 7.25 52.08
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 841 301 534 647 597 -7.73 -29.01
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 2,030 2,129 2,355 2,223 2,186 -1.66 7.68
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 6,566 7,129 6,045 7,513 6,991 -6.95 6.47
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 2,470 2,510 2,552 3,208 2,861 -10.82 15.83
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีในไตรมาสนี้มีการส่งออกลดลงเนื่องจากราคาปุ๋ยในตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้นเพราะราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมี
ผลให้ปริมาณการสั่งซื้อจากต่างประเทศลดลง ตลาดส่งออกที่สำคัญได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ตามลำดับ
แนวโน้ม
แนวโน้มการส่งออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ในต้นปีหน้าน่าจะมีการชะลอตัวลง เนื่องจากการแข็งค่าของเงินบาท สำหรับกฎระเบียบ
REACH ที่จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายน 2550 ซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบกับอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ หน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการในประเทศ
ไทยจึงควรเตรียมความพร้อมสำหรับกฎระเบียบดังกล่าว
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
การนำเข้า
ไตรมาส 4 ปี 2549 การนำเข้าเคมีภัณฑ์อนินทรีย์มีมูลค่า 10,188 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.67 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.12 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่าการนำเข้า 21,848 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 1.88 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.73 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนปุ๋ยมีมูลค่านำเข้า 4,889 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 54 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสที่แล้ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเครื่องสำอางมีมูลค่านำเข้า 3,750 ล้านบาท ลดลงร้อยละ
17.93 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 16.41 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี มีการนำเข้าลดลงเนื่องจากเป็นช่วงวัฏจักรของอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี (Life Cycle) และ ผลจากการดำเนินงานขับ
เคลื่อนวาระแห่งชาติเกษตรอินทรีย์ในปี 2549 ที่มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรได้ตระหนักถึงผลดีของการปรับเปลี่ยนระบบการผลิต จาก
เกษตรเคมีมาเป็นเกษตรอินทรีย์ แหล่งนำเข้าที่สำคัญได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย และเกาหลีใต้ ตามลำดับ
ประเภท พิกัด มูลค่าการนำเข้า (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q4/2548 Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q4/Q3ปี49 Q4/49กับQ4/48
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 9,692 9,344 9,821 9,827 10,188 3.67 5.12
1.2 อินทรีย์ * 29 20,471 21,582 22,023 22,266 21,848 -1.88 6.73
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 15,037 15,798 15,368 15,571 13,396 -13.97 -10.91
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 3,613 7,853 12,008 10,628 4,889 -54 35.32
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 8,203 7,831 8,267 8,745 7,826 -10.51 -4.6
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 4,486 4,440 4,643 4,569 3,750 -17.93 -16.41
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 4,066 4,022 3,828 3,800 3,598 -5.32 -11.51
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
การส่งออก
ไตรมาส 4 ปี 2549 การส่งออกเคมีภัณฑ์อินทรีย์มีมูลค่า 4,568 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 4.87 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลง
ร้อยละ 12.14 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เคมีภัณฑ์
อนินทรีย์มีมูลค่าส่งออก 2,598 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.48 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.38 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน ส่วนเครื่องสำอางหรือสิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกายมีมูลค่าส่งออก 6,991 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 6.95 เมื่อเทียบกับไตร
มาสที่แล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.47 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน อุตสาหกรรมปุ๋ยมีมูลค่าการส่งออก 597 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 7.73 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสที่แล้ว และลดลงร้อยละ 29.01 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ประเภท พิกัด มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q4/2548 Q1/2549 Q2/2549 Q3/2549 Q4/2549 Q4/Q3ปี49 Q4/49กับQ4/48
1. เคมีภัณฑ์พื้นฐาน
1.1 อนินทรีย์ 28 1,864 2,049 1,913 2,560 2,598 1.48 39.38
1.2 อินทรีย์ * 29 5,199 4,241 4,230 4,802 4,568 -4.87 -12.14
1.3 เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 38 2,258 2,785 2,923 3,202 3,434 7.25 52.08
2. เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย
2.1 ปุ๋ย 31 841 301 534 647 597 -7.73 -29.01
2.2 สีสกัดใช้ในการ 32 2,030 2,129 2,355 2,223 2,186 -1.66 7.68
ฟอกหนังหรือย้อมสี
2.3 เครื่องสำอาง 33 6,566 7,129 6,045 7,513 6,991 -6.95 6.47
2.4 สารลดแรงตึงผิว 34 2,470 2,510 2,552 3,208 2,861 -10.82 15.83
ที่มา : ข้อมูลจากกรมศุลกากร
หมายเหตุ : * เคมีภัณฑ์อินทรีย์ไม่รวมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง
อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีในไตรมาสนี้มีการส่งออกลดลงเนื่องจากราคาปุ๋ยในตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้นเพราะราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมี
ผลให้ปริมาณการสั่งซื้อจากต่างประเทศลดลง ตลาดส่งออกที่สำคัญได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ตามลำดับ
แนวโน้ม
แนวโน้มการส่งออกของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ในต้นปีหน้าน่าจะมีการชะลอตัวลง เนื่องจากการแข็งค่าของเงินบาท สำหรับกฎระเบียบ
REACH ที่จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายน 2550 ซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบกับอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ หน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการในประเทศ
ไทยจึงควรเตรียมความพร้อมสำหรับกฎระเบียบดังกล่าว
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-