อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 1,703.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 6.2 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อน โดยผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกลดลง ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องยกทรง รัดทรง และส่วนประกอบ ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ เคหะสิ่ง
ทอ ผ้าคลุมไหล่ เป็นต้น แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมูลค่าการส่งออกเพิ่มเพียงเล็กน้อย
การผลิต
การผลิตในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เมื่อพิจารณาจากดัชนีอุตสาหกรรม การผลิตเส้นใยสิ่งทอฯ การจำหน่ายลดลง เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีการนำเข้าเพิ่มมากขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าในประเทศ ได้แก่ ด้ายทอผ้า ผ้าผืนและผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ
ขณะที่การผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ผลิตจากผ้าทอ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับไตร
มาสเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับปริมาณการจำหน่ายที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะตลาดในประเทศ แต่ปริมาณการส่งออกลดลงส่งผลให้มูลค่าการส่ง
ออกปรับตัวลดลง
ตารางที่ 1 ดัชนีการผลิตเส้นใยสิ่งทอรวมทั้งการทอสิ่งทอ
ดัชนี 2548 2549 อัตราการขยายตัว : (%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q449/Q349 Q449/Q448
ผลผลิต 89 86.5 90.7 90.1 88.1 82.6 84.2 80.4 -4.4 -10.7
การส่งสินค้า 91.1 88.4 94.6 94.3 90.2 86.4 85.6 79.6 -6.9 -15.5
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 160.1 163.1 160.1 149.9 146.8 143.3 145 153.8 6.1 2.6
ตารางที่ 2 ดัชนีการผลิตผ้าที่ได้จากการถักนิตติ้งและโครเชท์
ดัชนี 2548 2549 อัตราการขยายตัว : (%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q449/Q349 Q449/Q448
ผลผลิต 134.5 130.8 139.6 140.4 133.2 120.4 123.1 143.6 16.7 2.3
การส่งสินค้า 108 101.7 100.8 101.4 99.4 96.1 99.5 98.5 -1 -2.9
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 118.4 112.2 123.8 144 132.3 126.8 127.6 120.2 -5.8 -16.5
ตารางที่ 3 ดัชนีการผลิตเครื่องแต่งกายยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ผลิตจากขนสัตว์
ดัชนี 2548 2549 อัตราการขยายตัว : (%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q449 / Q349 Q449 / Q448
ผลผลิต 154.2 139.4 147.6 147.6 152.3 141.1 146.7 154.8 5.5 4.8
การส่งสินค้า 140.8 123.6 133.9 131 135.6 127.9 136.2 137.8 1.1 5.2
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 201.6 190.3 198.6 215 227.5 240.2 246.6 238.4 -3.3 10.9
ที่มา : ตารางที่ 1-3 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : * เป็นตัวเลขเบื้องต้น
การส่งออก
การส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 1,703.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 1,817.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย
ร้อยละ 0.5 โดยจำแนกผลิตภัณฑ์ที่สำคัญ ๆ ดังนี้
1. เสื้อผ้าสำเร็จรูป ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 774.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 12.3 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 882.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และลดลงร้อยละ 2.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเสื้อผ้าสำเร็จรูปทำจาก
ฝ้ายมีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุดถึงร้อยละ 45.8 ของการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปทั้งหมด
2. ผ้าผืนและด้าย ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 469.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน มีมูลค่าการส่งออก 464.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จำแนกเป็น
2.1 ผ้าผืน ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 292.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.5 และ 3.7 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อนและไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามลำดับ
2.2 ด้ายและด้ายเส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 177.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ
2.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 184.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
3. เส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 113.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน มีมูลค่าการส่งออก 110.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ตารางที่ 4 มูลค่าการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว :(%)
รายการ 2548 2549 Q4*2549 เทียบ
Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 * Q32549 Q42548
สิ่งทอ 1,608.30 1,862.10 1,695.60 1,671.40 1,649.80 1,817.10 1,703.80 -6.2 0.5
เครื่องนุ่งห่ม 812.2 998.2 879.2 868.3 846.4 976 860.7 -11.8 -2.1
- เสื้อผ้าสำเร็จรูป 737.9 913.2 797.4 783.7 763.4 882.9 774.7 -12.3 -2.8
- เครื่องยกทรง รัดทรงฯ 57.9 64.9 66.4 68.7 67.5 73.3 68.1 -7.1 2.6
- ถุงเท้าและถุงน่อง 14.3 17.3 13 13.5 13.1 16.7 15.1 -9.6 16.2
- ถุงมือผ้า 2.1 2.8 2.4 2.4 2.4 3.2 2.7 -15.6 12.5
ผ้าผืนและด้าย 457 490.7 466 448.4 439.4 464.3 469.3 1.1 0.7
- ผ้าผืน 282.5 275.2 281.7 264.4 264.4 282.3 292.1 3.5 3.7
- ด้ายและด้ายเส้นใยประดิษฐ์ 174.4 215.5 184.3 184 175.1 181.9 177.2 -2.6 -3.9
เคหะสิ่งทอ 56.6 71.6 61.5 63.7 59.3 85.7 74.9 -12.6 21.8
เส้นใยประดิษฐ์ 104.1 120.8 110.3 116.3 118.1 103.9 113.2 9 2.6
ผ้าปักและผ้าลูกไม้ 28 32.1 33.2 28.7 29.6 39 41.7 6.9 25.6
ตาข่ายจับปลา 16.1 17.2 17.9 16 21.4 19.8 21.1 6.6 17.9
ผ้าคลุมไหล่ ผ้าพันคอ 2.1 1.9 1.6 1.6 2.3 2.2 1.8 -18.2 12.5
ผ้าสำหรับตัดเสื้อฯ 9.5 10 12.9 16.4 19.1 16.5 16.5 0 27.9
สิ่งทออื่นๆ 122.9 119.6 113.1 112 114.3 109.7 104.6 -4.6 -7.5
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
หมายเหตุ : * ปี 2549 เป็นตัวเลขเบื้องต้น
ตลาดส่งออก
ตลาดส่งออกที่สำคัญหลักๆ ของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีดังนี้
สหรัฐอเมริกา ยังคงเป็นตลาดส่งออกสิ่งทอหลักของไทย ซึ่งการส่งออกสิ่งทอของไทยไปสหรัฐอเมริกา ในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มี
มูลค่า 496.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 14.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสัด
ส่วนการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกาคิดเป็นสัดส่วนสูงที่สุดร้อยละ 29.1 ของการส่งออก
สิ่งทอทั้งหมดของไทย สินค้าที่ส่งออกส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องยกทรง รัดทรงและส่วนประกอบ และ เคหะสิ่งทอ ตามลำดับ
กลุ่มสหภาพยุโรป ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 329.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 19.3 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าผืน เครื่องยกทรง รัดทรง และส่วนประกอบ เป็นต้น
อาเซียน ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 218.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 12.8 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผ้าผืน เส้นใยประดิษฐ์ และด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ เป็นต้น
ญี่ปุ่น ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 87.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 16.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลง
ร้อยละ 6.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.1 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด โดยสินค้าส่งออกของไทยส่วนใหญ่จะเป็น
กลุ่มของเสื้อผ้าสำเร็จรูป สิ่งทออื่นๆ และเคหะสิ่งทอ
การนำเข้า
การนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทยในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต เช่นเส้นใยใช้ในการทอ ด้าย
ทอผ้าฯ ผ้าผืน และอื่นๆ (ร้อยละ 93.0) และเสื้อผ้าสำเร็จรูป (ร้อยละ 7.0)
สิ่งทอ นำเข้าสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 93.0 ของมูลค่าการนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปโดยรวมในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ที่ผ่านมา มี
มูลค่านำเข้าสิ่งทอ (เส้นใยใช้ในการทอ ด้ายทอผ้าฯ ผ้าผืน และอื่นๆ ) รวมทั้งสิ้น 670.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 6.4 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่นำเข้ามีดังนี้
1. เส้นใยที่ใช้ในการทอ มีมูลค่านำเข้า 165.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 10.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
184.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ คือ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอินเดีย มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 24.0, 23.0 และ 6.2
ตามลำดับ
2. ด้ายทอผ้าฯ มีมูลค่านำเข้า 103.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 18.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 126.6
ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ คือ จีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 21.1, 16.1 และ 12.2 ตามลำดับ
3. ผ้าผืน มีมูลค่านำเข้า 338.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 343.1 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญคือ จีน ไต้หวัน และ ญี่ปุ่น สัดส่วนการนำเข้าร้อยละ 38.3, 17.7 และ 8.7 ตามลำดับ
4. ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ มีมูลค่านำเข้า 39.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
38.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญคือจีน ญี่ปุ่น และฮ่องกง สัดส่วนการนำเข้าร้อยละ 25.4, 16.2 และ 8.0 ตามลำดับ
5. เสื้อผ้าสำเร็จรูป มีมูลค่านำเข้าทั้งสิ้น 50.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 22.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
65.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.0 ของการนำเข้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มทั้งหมด ตลาดนำเข้าหลักคือ จีน ฮ่องกง อิตาลี และ
สเปน สัดส่วนร้อยละ 43.9, 14.9, 6.4 และ 5.5 ตามลำดับ
6. เครื่องจักรสิ่งทอ ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 นำเข้ามูลค่า 101.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 8.4 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน ตลาดนำเข้าคือ ญี่ปุ่น เยอรมนี และไต้หวัน สัดส่วนนำเข้าร้อยละ 24.5, 18.1 และ 12.6 ตามลำดับ
ตารางที่ 5 มูลค่าการนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูป
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว (%)
2548 2549 Q4*/2549 เทียบ
Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q3/2549 Q4/2548
1. เครื่องจักรสิ่งทอ 112.4 114 90.2 90.2 93 111.1 101.8 -8.4 12.9
2. สิ่งทอ 801.8 672.9 646.1 631.3 730.3 716.3 670.8 -6.4 3.8
1) ด้ายและด้ายเส้นใยฯ 394.7 303.3 267.6 282.8 334.8 334.9 293.4 -12.4 9.6
- เส้นใยที่ใช้ในการทอ 245.3 172.3 140.2 158.5 186.8 184.6 165.2 -10.5 17.8
- ด้ายทอผ้าฯ 123.3 107.7 103.9 101.5 119.9 126.6 103.7 -18.1 -0.2
- วัตถุทออื่น ๆ 26.1 23.4 23.6 22.9 27.9 23.8 24.5 2.9 3.8
2) ผ้าผืน 367.5 335.3 339.8 312.5 360.8 343.1 338.1 -1.5 -0.5
3) ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ 39.6 34.3 38.7 36 34.7 38.3 39.3 2.6 ๑.๖๐
3. เสื้อผ้าสำเร็จรูป 24.1 46.9 44.4 47.8 35.2 65.1 50.3 -22.7 13.3
รวม 825.9 719.8 690.5 679.1 765.5 781.4 721.1 -7.7 4.4
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
หมายเหตุ : * ปี 2549 เป็นตัวเลขเบื้องต้น
สรุปและแนวโน้ม
ภาวะอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มปี 2549 โดยรวมมีมูลค่าการส่งออกขยายตัวเพียง ร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปีก่อน ขณะที่เสื้อ
ผ้าสำเร็จรูปเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 ซึ่งเป็นไปตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของตลาดหลัก โดยเฉพาะตลาดสหรัฐอเมริกา กลุ่มสหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ซึ่ง
การชะลอตัวอาจส่งผลให้ความต้องการบริโภคเสื้อผ้าสำเร็จรูปของตลาดโลกชะลอตัวตาม และจะส่งผลกระทบต่อการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทย
นอกจากนี้ผลกระทบจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น อัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้น การนำเข้าที่เพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่มีต้นทุนการผลิตต่ำจาก
จีน เวียดนาม และอินเดีย สูงถึงร้อยละ 33.8 ส่งผลให้การขยายตัวของอุตสาหกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
แนวโน้มปี 2550 การแข่งขันในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มจะทวีความรุนแรงมากขึ้น แม้ว่าจีนและเวียดนามจะยังสามารถผลิต
สินค้าด้วยต้นทุนต่ำกว่า ซึ่งไทยมีข้อเสียเปรียบทางด้านราคาที่แพงขึ้นในสายตาของผู้นำเข้าจากการที่เงินบาทยังมีแนวโน้มแข็งค่าในอัตราสูงกว่าคู่แข่งใน
ภูมิภาค ประกอบกับเวียดนามเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก WTO เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 ที่ผ่านมา ทำให้เวียดนามมีโอกาสขยายตลาดเสื้อผ้า
สำเร็จรูปไปยังประเทศต่างๆ โดยไม่ถูกมาตรการต่างๆ กีดกัน แต่เวียดนามยังมีอุปสรรคด้านวัตถุดิบที่ใช้ผลิตสิ่งทอ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยังมีไม่เพียงพอ
และต้องพึ่งพาการนำเข้า จึงเป็นโอกาสที่ผู้ประกอบการไทยเร่งพัฒนาศักยภาพการผลิตเพื่อเพิ่มโอกาสการแข่งขันให้สูงขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐโดยกระทรวง
อุตสาหกรรม ได้ร่วมมือกับภาคเอกชนจัดทำแผนแม่บทเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของอุตสาหกรรม โดยมีอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เป็น
สาขาหนึ่งที่ได้ให้ความสำคัญและจัดอยู่ในแผนแม่บทด้วย
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
เทียบกับไตรมาสก่อน โดยผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกลดลง ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องยกทรง รัดทรง และส่วนประกอบ ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ เคหะสิ่ง
ทอ ผ้าคลุมไหล่ เป็นต้น แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนมูลค่าการส่งออกเพิ่มเพียงเล็กน้อย
การผลิต
การผลิตในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เมื่อพิจารณาจากดัชนีอุตสาหกรรม การผลิตเส้นใยสิ่งทอฯ การจำหน่ายลดลง เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีการนำเข้าเพิ่มมากขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าในประเทศ ได้แก่ ด้ายทอผ้า ผ้าผืนและผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ
ขณะที่การผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ผลิตจากผ้าทอ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับไตร
มาสเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับปริมาณการจำหน่ายที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะตลาดในประเทศ แต่ปริมาณการส่งออกลดลงส่งผลให้มูลค่าการส่ง
ออกปรับตัวลดลง
ตารางที่ 1 ดัชนีการผลิตเส้นใยสิ่งทอรวมทั้งการทอสิ่งทอ
ดัชนี 2548 2549 อัตราการขยายตัว : (%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q449/Q349 Q449/Q448
ผลผลิต 89 86.5 90.7 90.1 88.1 82.6 84.2 80.4 -4.4 -10.7
การส่งสินค้า 91.1 88.4 94.6 94.3 90.2 86.4 85.6 79.6 -6.9 -15.5
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 160.1 163.1 160.1 149.9 146.8 143.3 145 153.8 6.1 2.6
ตารางที่ 2 ดัชนีการผลิตผ้าที่ได้จากการถักนิตติ้งและโครเชท์
ดัชนี 2548 2549 อัตราการขยายตัว : (%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q449/Q349 Q449/Q448
ผลผลิต 134.5 130.8 139.6 140.4 133.2 120.4 123.1 143.6 16.7 2.3
การส่งสินค้า 108 101.7 100.8 101.4 99.4 96.1 99.5 98.5 -1 -2.9
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 118.4 112.2 123.8 144 132.3 126.8 127.6 120.2 -5.8 -16.5
ตารางที่ 3 ดัชนีการผลิตเครื่องแต่งกายยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ผลิตจากขนสัตว์
ดัชนี 2548 2549 อัตราการขยายตัว : (%)
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q449 / Q349 Q449 / Q448
ผลผลิต 154.2 139.4 147.6 147.6 152.3 141.1 146.7 154.8 5.5 4.8
การส่งสินค้า 140.8 123.6 133.9 131 135.6 127.9 136.2 137.8 1.1 5.2
สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 201.6 190.3 198.6 215 227.5 240.2 246.6 238.4 -3.3 10.9
ที่มา : ตารางที่ 1-3 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : * เป็นตัวเลขเบื้องต้น
การส่งออก
การส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 1,703.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 1,817.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย
ร้อยละ 0.5 โดยจำแนกผลิตภัณฑ์ที่สำคัญ ๆ ดังนี้
1. เสื้อผ้าสำเร็จรูป ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 774.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 12.3 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 882.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และลดลงร้อยละ 2.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเสื้อผ้าสำเร็จรูปทำจาก
ฝ้ายมีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุดถึงร้อยละ 45.8 ของการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปทั้งหมด
2. ผ้าผืนและด้าย ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 469.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน มีมูลค่าการส่งออก 464.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จำแนกเป็น
2.1 ผ้าผืน ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 292.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.5 และ 3.7 เมื่อ
เทียบกับไตรมาสก่อนและไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ตามลำดับ
2.2 ด้ายและด้ายเส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 177.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ
2.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 184.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
3. เส้นใยประดิษฐ์ ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 113.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน และร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน มีมูลค่าการส่งออก 110.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ตารางที่ 4 มูลค่าการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว :(%)
รายการ 2548 2549 Q4*2549 เทียบ
Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 * Q32549 Q42548
สิ่งทอ 1,608.30 1,862.10 1,695.60 1,671.40 1,649.80 1,817.10 1,703.80 -6.2 0.5
เครื่องนุ่งห่ม 812.2 998.2 879.2 868.3 846.4 976 860.7 -11.8 -2.1
- เสื้อผ้าสำเร็จรูป 737.9 913.2 797.4 783.7 763.4 882.9 774.7 -12.3 -2.8
- เครื่องยกทรง รัดทรงฯ 57.9 64.9 66.4 68.7 67.5 73.3 68.1 -7.1 2.6
- ถุงเท้าและถุงน่อง 14.3 17.3 13 13.5 13.1 16.7 15.1 -9.6 16.2
- ถุงมือผ้า 2.1 2.8 2.4 2.4 2.4 3.2 2.7 -15.6 12.5
ผ้าผืนและด้าย 457 490.7 466 448.4 439.4 464.3 469.3 1.1 0.7
- ผ้าผืน 282.5 275.2 281.7 264.4 264.4 282.3 292.1 3.5 3.7
- ด้ายและด้ายเส้นใยประดิษฐ์ 174.4 215.5 184.3 184 175.1 181.9 177.2 -2.6 -3.9
เคหะสิ่งทอ 56.6 71.6 61.5 63.7 59.3 85.7 74.9 -12.6 21.8
เส้นใยประดิษฐ์ 104.1 120.8 110.3 116.3 118.1 103.9 113.2 9 2.6
ผ้าปักและผ้าลูกไม้ 28 32.1 33.2 28.7 29.6 39 41.7 6.9 25.6
ตาข่ายจับปลา 16.1 17.2 17.9 16 21.4 19.8 21.1 6.6 17.9
ผ้าคลุมไหล่ ผ้าพันคอ 2.1 1.9 1.6 1.6 2.3 2.2 1.8 -18.2 12.5
ผ้าสำหรับตัดเสื้อฯ 9.5 10 12.9 16.4 19.1 16.5 16.5 0 27.9
สิ่งทออื่นๆ 122.9 119.6 113.1 112 114.3 109.7 104.6 -4.6 -7.5
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
หมายเหตุ : * ปี 2549 เป็นตัวเลขเบื้องต้น
ตลาดส่งออก
ตลาดส่งออกที่สำคัญหลักๆ ของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีดังนี้
สหรัฐอเมริกา ยังคงเป็นตลาดส่งออกสิ่งทอหลักของไทย ซึ่งการส่งออกสิ่งทอของไทยไปสหรัฐอเมริกา ในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มี
มูลค่า 496.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 14.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลงร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสัด
ส่วนการส่งออกสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกาคิดเป็นสัดส่วนสูงที่สุดร้อยละ 29.1 ของการส่งออก
สิ่งทอทั้งหมดของไทย สินค้าที่ส่งออกส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องยกทรง รัดทรงและส่วนประกอบ และ เคหะสิ่งทอ ตามลำดับ
กลุ่มสหภาพยุโรป ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 329.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 3.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน
และเพิ่มเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 19.3 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าผืน เครื่องยกทรง รัดทรง และส่วนประกอบ เป็นต้น
อาเซียน ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 218.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 12.8 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผ้าผืน เส้นใยประดิษฐ์ และด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ เป็นต้น
ญี่ปุ่น ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 มีมูลค่าการส่งออก 87.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 16.9 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลง
ร้อยละ 6.0 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.1 ของการส่งออกสิ่งทอทั้งหมด โดยสินค้าส่งออกของไทยส่วนใหญ่จะเป็น
กลุ่มของเสื้อผ้าสำเร็จรูป สิ่งทออื่นๆ และเคหะสิ่งทอ
การนำเข้า
การนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทยในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต เช่นเส้นใยใช้ในการทอ ด้าย
ทอผ้าฯ ผ้าผืน และอื่นๆ (ร้อยละ 93.0) และเสื้อผ้าสำเร็จรูป (ร้อยละ 7.0)
สิ่งทอ นำเข้าสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 93.0 ของมูลค่าการนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูปโดยรวมในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 ที่ผ่านมา มี
มูลค่านำเข้าสิ่งทอ (เส้นใยใช้ในการทอ ด้ายทอผ้าฯ ผ้าผืน และอื่นๆ ) รวมทั้งสิ้น 670.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 6.4 เมื่อเทียบกับไตร
มาสก่อน ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่นำเข้ามีดังนี้
1. เส้นใยที่ใช้ในการทอ มีมูลค่านำเข้า 165.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 10.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
184.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ คือ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอินเดีย มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 24.0, 23.0 และ 6.2
ตามลำดับ
2. ด้ายทอผ้าฯ มีมูลค่านำเข้า 103.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 18.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 126.6
ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ คือ จีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 21.1, 16.1 และ 12.2 ตามลำดับ
3. ผ้าผืน มีมูลค่านำเข้า 338.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า 343.1 ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญคือ จีน ไต้หวัน และ ญี่ปุ่น สัดส่วนการนำเข้าร้อยละ 38.3, 17.7 และ 8.7 ตามลำดับ
4. ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่นๆ มีมูลค่านำเข้า 39.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
38.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตลาดนำเข้าที่สำคัญคือจีน ญี่ปุ่น และฮ่องกง สัดส่วนการนำเข้าร้อยละ 25.4, 16.2 และ 8.0 ตามลำดับ
5. เสื้อผ้าสำเร็จรูป มีมูลค่านำเข้าทั้งสิ้น 50.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 22.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ซึ่งมีมูลค่านำเข้า
65.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.0 ของการนำเข้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มทั้งหมด ตลาดนำเข้าหลักคือ จีน ฮ่องกง อิตาลี และ
สเปน สัดส่วนร้อยละ 43.9, 14.9, 6.4 และ 5.5 ตามลำดับ
6. เครื่องจักรสิ่งทอ ไตรมาสที่ 4 ปี 2549 นำเข้ามูลค่า 101.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 8.4 เมื่อเทียบกับไตรมาส
ก่อน ตลาดนำเข้าคือ ญี่ปุ่น เยอรมนี และไต้หวัน สัดส่วนนำเข้าร้อยละ 24.5, 18.1 และ 12.6 ตามลำดับ
ตารางที่ 5 มูลค่าการนำเข้าสิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูป
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราการขยายตัว (%)
2548 2549 Q4*/2549 เทียบ
Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4* Q3/2549 Q4/2548
1. เครื่องจักรสิ่งทอ 112.4 114 90.2 90.2 93 111.1 101.8 -8.4 12.9
2. สิ่งทอ 801.8 672.9 646.1 631.3 730.3 716.3 670.8 -6.4 3.8
1) ด้ายและด้ายเส้นใยฯ 394.7 303.3 267.6 282.8 334.8 334.9 293.4 -12.4 9.6
- เส้นใยที่ใช้ในการทอ 245.3 172.3 140.2 158.5 186.8 184.6 165.2 -10.5 17.8
- ด้ายทอผ้าฯ 123.3 107.7 103.9 101.5 119.9 126.6 103.7 -18.1 -0.2
- วัตถุทออื่น ๆ 26.1 23.4 23.6 22.9 27.9 23.8 24.5 2.9 3.8
2) ผ้าผืน 367.5 335.3 339.8 312.5 360.8 343.1 338.1 -1.5 -0.5
3) ผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ 39.6 34.3 38.7 36 34.7 38.3 39.3 2.6 ๑.๖๐
3. เสื้อผ้าสำเร็จรูป 24.1 46.9 44.4 47.8 35.2 65.1 50.3 -22.7 13.3
รวม 825.9 719.8 690.5 679.1 765.5 781.4 721.1 -7.7 4.4
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
หมายเหตุ : * ปี 2549 เป็นตัวเลขเบื้องต้น
สรุปและแนวโน้ม
ภาวะอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มปี 2549 โดยรวมมีมูลค่าการส่งออกขยายตัวเพียง ร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปีก่อน ขณะที่เสื้อ
ผ้าสำเร็จรูปเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 ซึ่งเป็นไปตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของตลาดหลัก โดยเฉพาะตลาดสหรัฐอเมริกา กลุ่มสหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ซึ่ง
การชะลอตัวอาจส่งผลให้ความต้องการบริโภคเสื้อผ้าสำเร็จรูปของตลาดโลกชะลอตัวตาม และจะส่งผลกระทบต่อการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปของไทย
นอกจากนี้ผลกระทบจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น อัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวสูงขึ้น การนำเข้าที่เพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่มีต้นทุนการผลิตต่ำจาก
จีน เวียดนาม และอินเดีย สูงถึงร้อยละ 33.8 ส่งผลให้การขยายตัวของอุตสาหกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
แนวโน้มปี 2550 การแข่งขันในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มจะทวีความรุนแรงมากขึ้น แม้ว่าจีนและเวียดนามจะยังสามารถผลิต
สินค้าด้วยต้นทุนต่ำกว่า ซึ่งไทยมีข้อเสียเปรียบทางด้านราคาที่แพงขึ้นในสายตาของผู้นำเข้าจากการที่เงินบาทยังมีแนวโน้มแข็งค่าในอัตราสูงกว่าคู่แข่งใน
ภูมิภาค ประกอบกับเวียดนามเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก WTO เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2549 ที่ผ่านมา ทำให้เวียดนามมีโอกาสขยายตลาดเสื้อผ้า
สำเร็จรูปไปยังประเทศต่างๆ โดยไม่ถูกมาตรการต่างๆ กีดกัน แต่เวียดนามยังมีอุปสรรคด้านวัตถุดิบที่ใช้ผลิตสิ่งทอ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยังมีไม่เพียงพอ
และต้องพึ่งพาการนำเข้า จึงเป็นโอกาสที่ผู้ประกอบการไทยเร่งพัฒนาศักยภาพการผลิตเพื่อเพิ่มโอกาสการแข่งขันให้สูงขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐโดยกระทรวง
อุตสาหกรรม ได้ร่วมมือกับภาคเอกชนจัดทำแผนแม่บทเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของอุตสาหกรรม โดยมีอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เป็น
สาขาหนึ่งที่ได้ให้ความสำคัญและจัดอยู่ในแผนแม่บทด้วย
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-