อุตสาหกรรมเซรามิก แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่
(1) Traditional Ceramics ได้แก่ กระเบื้องปูพื้น - บุผนัง และโมเสค, เครื่องสุขภัณฑ์, เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร, ของชำร่วย
เครื่องประดับ และลูกถ้วยไฟฟ้า เป็นต้น
(2) New Ceramics ได้แก่ Structural Ceramics เป็นเซรามิกที่รับน้ำหนักในอุณหภูมิสูง และ Functional Ceramics
เป็นเซรามิกพวกอีเลคทรอนิคส์
อุตสาหกรรมเซรามิก ชนิด Traditional Ceramics ประกอบด้วย
* กระเบื้องปูพื้น บุผนัง และโมเสค (Floor Tile, Wall Tile and Mosaic)
* เครื่องสุขภัณฑ์ (Sanitary)
* เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร (Tableware)
* ของชำร่วย และเครื่องประดับ (Souvenir and Decorative items)
* ลูกถ้วยไฟฟ้า (Insulator)
* ผลิตภัณฑ์เซรามิกชนิดอื่นๆ
การส่งออกผลิตภัณฑ์เซรามิกของไทยโดยรวม ทั้ง 5 ประเภทหลัก ในปี 2548 พบว่ามีมูลค่า 17,933.5 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจากปี
2547 ร้อยละ 7.1 เมื่อรวมกับผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ แล้วพบว่าปี 2548 มีมูลค่ารวมทั้งหมด 25,366 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.7(ดังตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 มูลค่าการส่งออกเซรามิกของไทย 5 ประเภทหลัก ปี 2545 - 2549(ม.ค.-มี.ค.)
มูลค่า (ล้านบาท)
รายการ ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548 ปี 2549
(ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.)
กระเบื้องปูพื้น ปิดผนังและโมเสค 2,989.9 2,902.0 3,446.3 4,243.3 790.9 1,038.9
เครื่องสุขภัณฑ์ 3,276.5 4,198.0 3,818.0 4,441.4 967.0 1,012.9
ลูกถ้วยไฟฟ้า 504.4 781.7 705.8 700.2 129.2 248.1
ของชำร่วยและเครื่องประดับ 1,495.1 1,487.1 1,273.3 1,304.8 329.8 291.0
ถ้วยชามทำด้วยเซรามิก 7,225.2 7,841.1 7,492.6 7,243.8 1,603.5 1,538.1
รวม 5 ประเภท 15,431.1 17,209.9 16,736.0 17,933.5 3,820.4 4,129.0
อัตราการขยายตัว (%) 9.1 11.5 -2.7 7.1 -78.6 8.0
ผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ 5,387.2 4,623.8 4,996.5 7,432.5 1,237.5 2,247.4
รวมทั้งหมด 20,818.1 21,833.7 21,732.5 25,366.0 5,057.9 6,376.4
อัตราการขยายตัว (%) ทั้งหมด 1.5 4.8 -0.4 16.7 -80.0 26
โดยที่ตลาดส่งออกเซรามิกของไทย ในปี 2548 พบว่า ญี่ปุ่นเป็นตลาดที่ไทยส่งออกมากที่สุด คือ 4,879.5 ล้านบาท และเมื่อเทียบกับ
มูลค่าการส่งออกในปี 2547 พบว่า มีอัตราเพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.9 ส่วนตลาดส่งออกรองลงไปคือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และอาเซียน ตาม
ลำดับ (ดังตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 ตลาดส่งออกเซรามิกของไทย ปี 2545 - 2549(ม.ค.-มี.ค.)
ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548 ปี 2549
(ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.)
ตลาดส่งออก มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า มูลค่า
(ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
อาเซียน 2,020.6 -0.9 2,087.3 3.3 2,109.1 1.0 1,770.2 -16.0 523.5 639.8
สหภาพยุโรป 5,038.6 10.9 5,777.6 14.6 5,564.6 -3.6 3,963.2 -28.7 1,206.5 1,089.8
ญี่ปุ่น 4,725.6 -14.5 5,025.6 6.3 4,243.4 -15.5 4,879.5 15.2 1,072.6 2,068.5
สหรัฐอเมริกา 5,241.3 10.5 5,140.3 -1.9 5,119.0 -0.4 4,658.8 -8.9 1,261.9 1,482.7
อื่นๆ 3,792.0 1.6 3,802.9 0.2 4,696.4 23.4 10,094.3 114.9 993.4 1,095.6
มูลค่ารวม 20,818.1 1.5 21,833.7 4.8 21,732.5 -0.4 25,366.0 16.7 5,057.9 6,376.4
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ตารางที่ 3 มูลค่าการนำเข้าเซรามิกของไทย ปี 2545 -- 2549(ม.ค.-มี.ค.)
มูลค่า (ล้านบาท)
รายการ ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548(ม.ค.-มี.ค.) ปี 2549(ม.ค.-มี.ค.)
ผลิตภัณฑ์เซรามิก 1,233.4 2,169.4 3,799.3 3,977.8 783.0 929.0
เครื่องสุขภัณฑ์ 418.7 547.9 755.9 975.4 211.8 232.8
รวมทั้งหมด 1,652.1 2,717.3 4,555.2 4,953.2 994.8 1,161.8
อัตราการขยายตัว (%) ทั้งหมด 10.7 64.4 67.6 8.7 -79.9 16.7
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
มูลค่าการนำเข้าผลิตภัณฑ์เซรามิกและเครื่องสุขภัณฑ์ของไทยโดยรวมในปี 2548 พบว่ามีมูลค่า 4,953.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี
2547 ร้อยละ 8.7 (ดังตารางที่ 3)
โดยที่ตลาดนำเข้าเซรามิกของไทยที่สำคัญ ในปี 2548 พบว่าอาเซียนเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุด โดยมีมูลค่านำเข้า 864.1 ล้านบาท รองลง
มาคือ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ตามลำดับ (ตารางที่4)
ตารางที่ 4 ตลาดนำเข้าเซรามิกของไทย ปี 2545 - 2548(ม.ค.-ธ.ค.)
ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548 ปี 2549
(ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.)
ตลาดนำเข้า มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า มูลค่า มูลค่า ขยายตัว มูลค่า มูลค่า
(ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
อาเซียน 150.4 42.1 408.7 171.7 765.8 87.3 864.1 12.8 180.4 192.4
สหภาพยุโรป 637.4 7.2 928.1 45.6 1,142.7 29.2 502.7 12.5 80.5 48.8
ญี่ปุ่น 286.1 -4.3 345.5 20.7 446.6 29.2 502.7 12.5 80.5 48.8
สหรัฐอเมริกา 44.5 -0.3 46.1 3.5 192.0 316.4 65.1 -66.0 11.9 14.4
รวม 4 ตลาด 1,118.4 3.3 1,728.4 54.5 2,547.1 47.3 2,287.1 -10.2 493.7 498.4
อื่นๆ 533.7 49.4 988.9 85.2 2,008.1 103.3 2,666.1 32.7 501.1 663.4
มูลค่ารวม 1,652.1 10.7 2,717.3 64.4 4,555.2 67.6 4,953.2 8.7 994.8 1,161.8
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ตารางที่ 5 ประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่งของผลิตภัณฑ์เซรามิกแต่ละประเภท
ผลิตภัณฑ์ ประเทศคู่ค้า ประเทศคู่แข่ง
กระเบื้องเซรามิก สหรัฐอเมริกา กัมพูชา ออสเตรเลีย ลาว พม่า จีน อินโดนีเซีย สเปน
เครื่องสุขภัณฑ์ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง แคนาดา ญี่ปุ่น ไต้หวัน มาเลเซีย
เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมัน จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร
อิตาลี ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย
ของชำร่วยและเครื่องประดับ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมัน จีน อินโดนีเซีย เวียดนาม อิตาลี
สหราชอาณาจักร
ลูกถ้วยไฟฟ้า มาเลเซีย ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ อิสราเอล มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน
ฝรั่งเศส
ที่มา : ศูนย์ประสานการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 6 กำลังการผลิตและการจ้างงานของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย ( ข้อมูลปี 2544 )
ผลิตภัณฑ์ กำลังการผลิตรวม จำนวนแรงงาน (คน)
กระเบื้องเซรามิก 170 ล้านตารางเมตร 10,000
เครื่องสุขภัณฑ์ 13.5 ล้านชิ้น 8,000
เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร 250 ล้านชิ้น 20,000
ของชำร่วยและเครื่องประดับ 150,000 ตัน/ปี 35,000
ลูกถ้วยไฟฟ้า 10,000 ตัน/ปี 2,000
ที่มา : แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมเซรามิก, กลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ตารางที่ 7 ลักษณะการลงทุน และสัดส่วนการใช้วัตถุดิบของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย
ประเภทผลิตภัณฑ์ ลักษณะการลงทุนอุตสาหกรรม สัดส่วนการใช้วัตถุดิบ (ร้อยละ)
ในประเทศ ต่างประเทศ รวม
กระเบื้องเซรามิก ใช้ทุนและเทคโนโลยีเข้มข้น การตลาดขึ้นอยู่กับ 62 38 100
อุตสาหกรรมก่อสร้าง และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
สุขภัณฑ์ ใช้ทุนและเทคโนโลยีเข้มข้น ตลาดขึ้นกับธุรกิจ 74 26 100
อุตสาหกรรมก่อสร้าง และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร มีขนาดกลางและขนาดย่อม ใช้แรงงานเข้มข้น 78 22 100
ตลาดส่งออกมีศักยภาพสูง
ของชำร่วย มีขนาดย่อม ใช้แรงงานเข้มข้น และมีการแข่งขัน 71 29 100
และเครื่องประดับ ด้านการออกแบบ
ลูกถ้วยไฟฟ้า ใช้เทคโนโลยีสูง และตลาดขึ้นอยู่กับกิจการ 98 2 100
สาธารณูปโภค (ไฟฟ้า)
ที่มา: ศูนย์ประสานการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 8 มูลค่าการค้าผลิตภัณฑ์เซรามิก กลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิกจังหวัดลำปาง มูลค่า : ล้านบาท
ปี พ.ศ. มูลค่าการค้า ขยายตัว มูลค่าการส่งออก มูลค่าการจำหน่ายในประเทศ
(%) Nonvat vat
2544 1,604.04 - 1,044.29 47.30 512.45
2545 1,745.88 8.84 1,134.64 48.59 562.64
2546 2,400.46 37.49 1,299.35 84.67 1,016.44
2547 2,633.07 9.69 1,469.63 94.01 1,069.44
2548 (ต.ค.-ก.ย.) 2,805.41 6.54 1,161.84 -------1,161.84------
ที่มา : สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำปาง
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-
(1) Traditional Ceramics ได้แก่ กระเบื้องปูพื้น - บุผนัง และโมเสค, เครื่องสุขภัณฑ์, เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร, ของชำร่วย
เครื่องประดับ และลูกถ้วยไฟฟ้า เป็นต้น
(2) New Ceramics ได้แก่ Structural Ceramics เป็นเซรามิกที่รับน้ำหนักในอุณหภูมิสูง และ Functional Ceramics
เป็นเซรามิกพวกอีเลคทรอนิคส์
อุตสาหกรรมเซรามิก ชนิด Traditional Ceramics ประกอบด้วย
* กระเบื้องปูพื้น บุผนัง และโมเสค (Floor Tile, Wall Tile and Mosaic)
* เครื่องสุขภัณฑ์ (Sanitary)
* เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร (Tableware)
* ของชำร่วย และเครื่องประดับ (Souvenir and Decorative items)
* ลูกถ้วยไฟฟ้า (Insulator)
* ผลิตภัณฑ์เซรามิกชนิดอื่นๆ
การส่งออกผลิตภัณฑ์เซรามิกของไทยโดยรวม ทั้ง 5 ประเภทหลัก ในปี 2548 พบว่ามีมูลค่า 17,933.5 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจากปี
2547 ร้อยละ 7.1 เมื่อรวมกับผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ แล้วพบว่าปี 2548 มีมูลค่ารวมทั้งหมด 25,366 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.7(ดังตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 มูลค่าการส่งออกเซรามิกของไทย 5 ประเภทหลัก ปี 2545 - 2549(ม.ค.-มี.ค.)
มูลค่า (ล้านบาท)
รายการ ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548 ปี 2549
(ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.)
กระเบื้องปูพื้น ปิดผนังและโมเสค 2,989.9 2,902.0 3,446.3 4,243.3 790.9 1,038.9
เครื่องสุขภัณฑ์ 3,276.5 4,198.0 3,818.0 4,441.4 967.0 1,012.9
ลูกถ้วยไฟฟ้า 504.4 781.7 705.8 700.2 129.2 248.1
ของชำร่วยและเครื่องประดับ 1,495.1 1,487.1 1,273.3 1,304.8 329.8 291.0
ถ้วยชามทำด้วยเซรามิก 7,225.2 7,841.1 7,492.6 7,243.8 1,603.5 1,538.1
รวม 5 ประเภท 15,431.1 17,209.9 16,736.0 17,933.5 3,820.4 4,129.0
อัตราการขยายตัว (%) 9.1 11.5 -2.7 7.1 -78.6 8.0
ผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ 5,387.2 4,623.8 4,996.5 7,432.5 1,237.5 2,247.4
รวมทั้งหมด 20,818.1 21,833.7 21,732.5 25,366.0 5,057.9 6,376.4
อัตราการขยายตัว (%) ทั้งหมด 1.5 4.8 -0.4 16.7 -80.0 26
โดยที่ตลาดส่งออกเซรามิกของไทย ในปี 2548 พบว่า ญี่ปุ่นเป็นตลาดที่ไทยส่งออกมากที่สุด คือ 4,879.5 ล้านบาท และเมื่อเทียบกับ
มูลค่าการส่งออกในปี 2547 พบว่า มีอัตราเพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.9 ส่วนตลาดส่งออกรองลงไปคือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และอาเซียน ตาม
ลำดับ (ดังตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 ตลาดส่งออกเซรามิกของไทย ปี 2545 - 2549(ม.ค.-มี.ค.)
ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548 ปี 2549
(ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.)
ตลาดส่งออก มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า มูลค่า
(ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
อาเซียน 2,020.6 -0.9 2,087.3 3.3 2,109.1 1.0 1,770.2 -16.0 523.5 639.8
สหภาพยุโรป 5,038.6 10.9 5,777.6 14.6 5,564.6 -3.6 3,963.2 -28.7 1,206.5 1,089.8
ญี่ปุ่น 4,725.6 -14.5 5,025.6 6.3 4,243.4 -15.5 4,879.5 15.2 1,072.6 2,068.5
สหรัฐอเมริกา 5,241.3 10.5 5,140.3 -1.9 5,119.0 -0.4 4,658.8 -8.9 1,261.9 1,482.7
อื่นๆ 3,792.0 1.6 3,802.9 0.2 4,696.4 23.4 10,094.3 114.9 993.4 1,095.6
มูลค่ารวม 20,818.1 1.5 21,833.7 4.8 21,732.5 -0.4 25,366.0 16.7 5,057.9 6,376.4
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ตารางที่ 3 มูลค่าการนำเข้าเซรามิกของไทย ปี 2545 -- 2549(ม.ค.-มี.ค.)
มูลค่า (ล้านบาท)
รายการ ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548(ม.ค.-มี.ค.) ปี 2549(ม.ค.-มี.ค.)
ผลิตภัณฑ์เซรามิก 1,233.4 2,169.4 3,799.3 3,977.8 783.0 929.0
เครื่องสุขภัณฑ์ 418.7 547.9 755.9 975.4 211.8 232.8
รวมทั้งหมด 1,652.1 2,717.3 4,555.2 4,953.2 994.8 1,161.8
อัตราการขยายตัว (%) ทั้งหมด 10.7 64.4 67.6 8.7 -79.9 16.7
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
มูลค่าการนำเข้าผลิตภัณฑ์เซรามิกและเครื่องสุขภัณฑ์ของไทยโดยรวมในปี 2548 พบว่ามีมูลค่า 4,953.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี
2547 ร้อยละ 8.7 (ดังตารางที่ 3)
โดยที่ตลาดนำเข้าเซรามิกของไทยที่สำคัญ ในปี 2548 พบว่าอาเซียนเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุด โดยมีมูลค่านำเข้า 864.1 ล้านบาท รองลง
มาคือ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ตามลำดับ (ตารางที่4)
ตารางที่ 4 ตลาดนำเข้าเซรามิกของไทย ปี 2545 - 2548(ม.ค.-ธ.ค.)
ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2548 ปี 2549
(ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.)
ตลาดนำเข้า มูลค่า ขยายตัว มูลค่า ขยายตัว มูลค่า มูลค่า มูลค่า ขยายตัว มูลค่า มูลค่า
(ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
อาเซียน 150.4 42.1 408.7 171.7 765.8 87.3 864.1 12.8 180.4 192.4
สหภาพยุโรป 637.4 7.2 928.1 45.6 1,142.7 29.2 502.7 12.5 80.5 48.8
ญี่ปุ่น 286.1 -4.3 345.5 20.7 446.6 29.2 502.7 12.5 80.5 48.8
สหรัฐอเมริกา 44.5 -0.3 46.1 3.5 192.0 316.4 65.1 -66.0 11.9 14.4
รวม 4 ตลาด 1,118.4 3.3 1,728.4 54.5 2,547.1 47.3 2,287.1 -10.2 493.7 498.4
อื่นๆ 533.7 49.4 988.9 85.2 2,008.1 103.3 2,666.1 32.7 501.1 663.4
มูลค่ารวม 1,652.1 10.7 2,717.3 64.4 4,555.2 67.6 4,953.2 8.7 994.8 1,161.8
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ตารางที่ 5 ประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่งของผลิตภัณฑ์เซรามิกแต่ละประเภท
ผลิตภัณฑ์ ประเทศคู่ค้า ประเทศคู่แข่ง
กระเบื้องเซรามิก สหรัฐอเมริกา กัมพูชา ออสเตรเลีย ลาว พม่า จีน อินโดนีเซีย สเปน
เครื่องสุขภัณฑ์ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง แคนาดา ญี่ปุ่น ไต้หวัน มาเลเซีย
เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมัน จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร
อิตาลี ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย
ของชำร่วยและเครื่องประดับ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมัน จีน อินโดนีเซีย เวียดนาม อิตาลี
สหราชอาณาจักร
ลูกถ้วยไฟฟ้า มาเลเซีย ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ อิสราเอล มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน
ฝรั่งเศส
ที่มา : ศูนย์ประสานการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 6 กำลังการผลิตและการจ้างงานของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย ( ข้อมูลปี 2544 )
ผลิตภัณฑ์ กำลังการผลิตรวม จำนวนแรงงาน (คน)
กระเบื้องเซรามิก 170 ล้านตารางเมตร 10,000
เครื่องสุขภัณฑ์ 13.5 ล้านชิ้น 8,000
เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร 250 ล้านชิ้น 20,000
ของชำร่วยและเครื่องประดับ 150,000 ตัน/ปี 35,000
ลูกถ้วยไฟฟ้า 10,000 ตัน/ปี 2,000
ที่มา : แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมเซรามิก, กลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ตารางที่ 7 ลักษณะการลงทุน และสัดส่วนการใช้วัตถุดิบของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย
ประเภทผลิตภัณฑ์ ลักษณะการลงทุนอุตสาหกรรม สัดส่วนการใช้วัตถุดิบ (ร้อยละ)
ในประเทศ ต่างประเทศ รวม
กระเบื้องเซรามิก ใช้ทุนและเทคโนโลยีเข้มข้น การตลาดขึ้นอยู่กับ 62 38 100
อุตสาหกรรมก่อสร้าง และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
สุขภัณฑ์ ใช้ทุนและเทคโนโลยีเข้มข้น ตลาดขึ้นกับธุรกิจ 74 26 100
อุตสาหกรรมก่อสร้าง และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร มีขนาดกลางและขนาดย่อม ใช้แรงงานเข้มข้น 78 22 100
ตลาดส่งออกมีศักยภาพสูง
ของชำร่วย มีขนาดย่อม ใช้แรงงานเข้มข้น และมีการแข่งขัน 71 29 100
และเครื่องประดับ ด้านการออกแบบ
ลูกถ้วยไฟฟ้า ใช้เทคโนโลยีสูง และตลาดขึ้นอยู่กับกิจการ 98 2 100
สาธารณูปโภค (ไฟฟ้า)
ที่มา: ศูนย์ประสานการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ตารางที่ 8 มูลค่าการค้าผลิตภัณฑ์เซรามิก กลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิกจังหวัดลำปาง มูลค่า : ล้านบาท
ปี พ.ศ. มูลค่าการค้า ขยายตัว มูลค่าการส่งออก มูลค่าการจำหน่ายในประเทศ
(%) Nonvat vat
2544 1,604.04 - 1,044.29 47.30 512.45
2545 1,745.88 8.84 1,134.64 48.59 562.64
2546 2,400.46 37.49 1,299.35 84.67 1,016.44
2547 2,633.07 9.69 1,469.63 94.01 1,069.44
2548 (ต.ค.-ก.ย.) 2,805.41 6.54 1,161.84 -------1,161.84------
ที่มา : สำนักงานพาณิชย์จังหวัดลำปาง
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-