บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒
ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๖ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๔๕
ณ ตึกรัฐสภา
------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๕ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทน
ราษฎร และนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง
ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้ให้เลขาธิการ
สภาผู้แทนราษฎรอ่านพระบรมราชโองการ ให้ที่ประชุมรับทราบรวม ๒ ฉบับ คือ
๑. พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้ง นายสุชาติ ตันเจริญ
เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง
๒. พระบรมราชโองการ ประกาศให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
และแต่งตั้งรัฐมนตรี
๑) ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้
(๑) นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
(๒) นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
(๓) นายจำลอง ครุฑขุนทด รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการ พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
(๔) นายสุธรรม แสงประทุม รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย
พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
๒) ให้แต่งตั้งรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้
(๑) นายกร ทัพพะรังสี เป็นรองนายกรัฐมนตรี
(๒) นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา เป็นรัฐมนตรีประจำ
สำนักนายกรัฐมนตรี
(๓) นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นรัฐมนตรีประจำ
สำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย
(๔) นายจาตุรนต์ ฉายแสง เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(๕) นายนิกร จำนง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
(๖) นายเนวิน ชิดชอบ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๕ เป็นต้นไป
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่อง
ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
ได้ลงมติให้ขยายเวลาการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติออกไปเป็นกรณีพิเศษอีก
๓๐ วัน ตามมาตรา ๑๗๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๔ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. …. นับแต่วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๔๕
(๒) ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. นับแต่วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
(๓) ร่างพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ….
นับแต่วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
(๔) ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
นับแต่วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
ที่ประชุมรับทราบ
หลังจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ จำนวน ๓ ครั้ง คือ
ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) วันอังคารที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒ (สมัยวิสามัญ) วันพุธที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓ (สมัยวิสามัญ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๔
ที่ประชุมได้รับรองรายงานการประชุมทั้ง ๓ ครั้งดังกล่าว
ต่อมา ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอให้นำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘, ๑๓, ๑๔, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๑ และ ๒๒
ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพ
การสัตวแพทย์ พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบ
ด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว
ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการฝ่ายอัยการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
และลงมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๐ คน
โดยตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๐ คน ประกอบด้วย
๑. นายโสภณ เพชรสว่าง ๒. นายเจริญ จรรย์โกมล
๓. พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ ๔. นายยงยศ อดิเรกสาร
๕. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์ ๖. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๗. นายวิทยา แก้วภราดัย ๘. นายถาวร เสนเนียม
๙. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๑๐. นายประจักษ์ พุทธิสมบัติ
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ
การฌาปนกิจสงเคราะห์ พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา
จักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๔)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบ
ด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว
ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย
๔. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างทางพิเศษสาย
บางปะอิน-ปากเกร็ด ในท้องที่อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อำเภอ
สามโคก อำเภอคลองหลวง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี และอำเภอ
ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายสมบัติ อุทัยสาง)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายชัยฤกษ์ ดิษฐอำนาจ ๒. นางดุษณีย์ หันตรา
๓. นายยืนหยัด ใจสมุทร ๔. นายมณเฑียร กุลธำรง
๕. นายจิระสักดิ์ เปมะศิริ ๖. หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. นายพ้อง ชีวานันท์
๙. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย ๑๐. ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี
๑๑. นายสุชาติ บรรดาศักดิ์ ๑๒. จ่าสิบเอก อนันต์ สุขสันต์
๑๓. นายสฤต สันติเมทนีดล ๑๔. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๑๕. นายอนุชา นาคาศัย ๑๖. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์
๑๗. นายวิทยา บุรณศิริ ๑๘. นายอำนวย คลังผา
๑๙. นายสุพล ฟองงาม ๒๐. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
๒๑. นายฐานิสร์ เทียนทอง ๒๒. นายเอกพจน์ ปานแย้ม
๒๓. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๒๔. นายนริศ ขำนุรักษ์
๒๕. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี ๒๖. นายวินัย เสนเนียม
๒๗. นายนคร มาฉิม ๒๘. นายไพศาล จันทวารา
๒๙. นายเจือ ราชสีห์ ๓๐. นายวิทย์วัส โพธสุธน
๓๑. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายประภาส วีระเสถียร ๓๔. นายวิเชียร ขาวขำ
๓๕. นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๕. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา
จักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
และลงมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๐ คน
โดยตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๐ คน ประกอบด้วย
๑. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๒. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๓. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ๔. นายบัณฑิต รชตะนันท์
๕. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๖. นายธีรโชต กองทอง
๗. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๘. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ
๙. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๑๐. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๖. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร
พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๑๙)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ได้ขึ้นมาปฏิบัติหน้าที่แทน
มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
(ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ ๒. นายเรืองศักดิ์ ลอยกุลนันท์
๓. นายพิสิฏฐ์ ฉัตรวชิระวงษ์ ๔. นางสาวชะม้าย พฤกษมาศน์
๕. นางสาวพรทิพย์ จาละ ๖. นายอิทธิเดช แก้วหลวง
๗. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์ ๘. พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร
๙. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๑๐. นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
๑๑. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ๑๒. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๑๓. นายสิน กุมภะ ๑๔. นายอรรถพล มามะ
๑๕. นายวีระชัย วีระเมธีกุล ๑๖. นายเสกสรรค์ แสนภูมิ
๑๗. นายจตุพร เจริญเชื้อ ๑๘. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
๑๙. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๒๐. นายทองหล่อ พลโคตร
๒๑. นายสุชาย ศรีสุรพล ๒๒. นายโกเมศ ขวัญเมือง
๒๓. นายสนั่น สุธากุล ๒๔. นายเจือ ราชสีห์
๒๕. นายธนญ ตันติสุนทร ๒๖. นายยงยุทธ สุวภาพ
๒๗. นายนราพัฒน์ แก้วทอง ๒๘. นายวิรัช ร่มเย็น
๒๙. นายประกอบ รัตนพันธ์ ๓๐. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ
๓๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๒. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
๓๓. นายมงคล บุพศิริ ๓๔. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร
๓๕. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๗. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลบ้านเป็ดอำเภอเมืองขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๑)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายประชา มาลีนนท์)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
คมนาคม (นายประชา มาลีนนท์) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายโกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ ๒. นางดุษณีย์ หันตรา
๓. นายบรรเจิด อภินิเวศ ๔. นายกรัณย์ วุฒิเมธีกุล
๕. นายสมชาย จันทร์รอด ๖. นายอดิศร เพียงเกษ
๗. นายสฤต สันติเมทนีดล ๘. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๙. นายสากล ม่วงศิริ ๑๐. นายอนุสรณ์ ปั้นทอง
๑๑. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๑๒. นายชวลิต มหาจันทร์
๑๓. นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร ๑๔. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๕. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร ๑๖. นายธีระชัย แสนแก้ว
๑๗. นายภูมิ สาระผล ๑๘. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๙. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ๒๐. นายพงศกร อรรณนพพร
๒๑. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๒๒. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร
๒๓. นายฉลาด ขามช่วง ๒๔. นายไพศาล จันทวารา
๒๕. นายไชยยศ จิรเมธากร ๒๖. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๒๗. นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ ๒๘. นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
๒๙. นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ ๓๐. นายสรศักดิ์ สร้อยสนธิ์
๓๑. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายประภาส วีระเสถียร ๓๔. นายศรคม ฦาชา
๓๕. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๘. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลชะอำ
อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายประชา มาลีนนท์)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายโกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ ๒. นางดุษณีย์ หันตรา
๓. นายบรรเจิด อภินิเวศ ๔. นายกรัณย์ วุฒิเมธีกุล
๕. นายสมชาย จันทร์รอด ๖. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ
๗. นาวาอากาศโท รวยลาภ เอี่ยมทอง ๘. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๙. นายการุญ จันทรางศุ ๑๐. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๑๑. นายธานี ยี่สาร ๑๒. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา
๑๓. นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา ๑๔. นายวิเศษ ใจใหญ่
๑๕. นายเสริมศักดิ์ การุญ ๑๖. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๗. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์ ๑๘. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
๑๙. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๒๐. นายแสวง ฤกษ์จรัล
๒๑. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๒. นายอลงกรณ์ พลบุตร
๒๓. นายอภิชาติ สุภาแพ่ง ๒๔. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
๒๕. นางกันตวรรณ กุลจรรยาวิวัฒน์ ๒๖. นายมนตรี ปาน้อยนนท์
๒๗. นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน ๒๘. ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์
๒๙. นายธนญ ตันติสุนทร ๓๐. นายวิทูร กรุณา
๓๑. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายประภาส วีระเสถียร ๓๔. นายศรคม ฦาชา
๓๕. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๖.๕๐ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๐๐ ต่อ ๓๒๒๘, ๓๒๓๐-๓๑
โทรสาร ๐ ๒๓๕๗ ๓๒๑๑
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติการฌาปนกิจสงเคราะห์ พ.ศ. ….
ตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน
๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๔ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างทางพิเศษสาย
บางปะอิน-ปากเกร็ด ในท้องที่อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อำเภอสามโคก
อำเภอคลองหลวง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี และอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร
พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลบ้านเป็ด
อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. …
. ๔. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลชะอำ
อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. ….
******************************
ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๖ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๔๕
ณ ตึกรัฐสภา
------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๕ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทน
ราษฎร และนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง
ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้ให้เลขาธิการ
สภาผู้แทนราษฎรอ่านพระบรมราชโองการ ให้ที่ประชุมรับทราบรวม ๒ ฉบับ คือ
๑. พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้ง นายสุชาติ ตันเจริญ
เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง
๒. พระบรมราชโองการ ประกาศให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
และแต่งตั้งรัฐมนตรี
๑) ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้
(๑) นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
(๒) นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
(๓) นายจำลอง ครุฑขุนทด รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการ พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
(๔) นายสุธรรม แสงประทุม รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย
พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
๒) ให้แต่งตั้งรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้
(๑) นายกร ทัพพะรังสี เป็นรองนายกรัฐมนตรี
(๒) นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา เป็นรัฐมนตรีประจำ
สำนักนายกรัฐมนตรี
(๓) นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นรัฐมนตรีประจำ
สำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย
(๔) นายจาตุรนต์ ฉายแสง เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(๕) นายนิกร จำนง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
(๖) นายเนวิน ชิดชอบ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๕ เป็นต้นไป
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่อง
ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
ได้ลงมติให้ขยายเวลาการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติออกไปเป็นกรณีพิเศษอีก
๓๐ วัน ตามมาตรา ๑๗๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๔ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. …. นับแต่วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๔๕
(๒) ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. นับแต่วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
(๓) ร่างพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ….
นับแต่วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
(๔) ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
นับแต่วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕
ที่ประชุมรับทราบ
หลังจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ จำนวน ๓ ครั้ง คือ
ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) วันอังคารที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒ (สมัยวิสามัญ) วันพุธที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓ (สมัยวิสามัญ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๔
ที่ประชุมได้รับรองรายงานการประชุมทั้ง ๓ ครั้งดังกล่าว
ต่อมา ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอให้นำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘, ๑๓, ๑๔, ๑๗, ๑๘, ๑๙, ๒๑ และ ๒๒
ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพ
การสัตวแพทย์ พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบ
ด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว
ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการฝ่ายอัยการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
และลงมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๐ คน
โดยตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๐ คน ประกอบด้วย
๑. นายโสภณ เพชรสว่าง ๒. นายเจริญ จรรย์โกมล
๓. พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ ๔. นายยงยศ อดิเรกสาร
๕. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์ ๖. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๗. นายวิทยา แก้วภราดัย ๘. นายถาวร เสนเนียม
๙. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๑๐. นายประจักษ์ พุทธิสมบัติ
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ
การฌาปนกิจสงเคราะห์ พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา
จักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๔)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบ
ด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว
ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย
๔. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างทางพิเศษสาย
บางปะอิน-ปากเกร็ด ในท้องที่อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อำเภอ
สามโคก อำเภอคลองหลวง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี และอำเภอ
ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายสมบัติ อุทัยสาง)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายชัยฤกษ์ ดิษฐอำนาจ ๒. นางดุษณีย์ หันตรา
๓. นายยืนหยัด ใจสมุทร ๔. นายมณเฑียร กุลธำรง
๕. นายจิระสักดิ์ เปมะศิริ ๖. หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. นายพ้อง ชีวานันท์
๙. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย ๑๐. ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี
๑๑. นายสุชาติ บรรดาศักดิ์ ๑๒. จ่าสิบเอก อนันต์ สุขสันต์
๑๓. นายสฤต สันติเมทนีดล ๑๔. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๑๕. นายอนุชา นาคาศัย ๑๖. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์
๑๗. นายวิทยา บุรณศิริ ๑๘. นายอำนวย คลังผา
๑๙. นายสุพล ฟองงาม ๒๐. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
๒๑. นายฐานิสร์ เทียนทอง ๒๒. นายเอกพจน์ ปานแย้ม
๒๓. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๒๔. นายนริศ ขำนุรักษ์
๒๕. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี ๒๖. นายวินัย เสนเนียม
๒๗. นายนคร มาฉิม ๒๘. นายไพศาล จันทวารา
๒๙. นายเจือ ราชสีห์ ๓๐. นายวิทย์วัส โพธสุธน
๓๑. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายประภาส วีระเสถียร ๓๔. นายวิเชียร ขาวขำ
๓๕. นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๕. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. …. ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา
จักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
และลงมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๐ คน
โดยตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๐ คน ประกอบด้วย
๑. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๒. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๓. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ๔. นายบัณฑิต รชตะนันท์
๕. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๖. นายธีรโชต กองทอง
๗. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๘. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ
๙. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๑๐. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๖. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร
พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๑๙)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ได้ขึ้นมาปฏิบัติหน้าที่แทน
มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
(ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ ๒. นายเรืองศักดิ์ ลอยกุลนันท์
๓. นายพิสิฏฐ์ ฉัตรวชิระวงษ์ ๔. นางสาวชะม้าย พฤกษมาศน์
๕. นางสาวพรทิพย์ จาละ ๖. นายอิทธิเดช แก้วหลวง
๗. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์ ๘. พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร
๙. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๑๐. นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
๑๑. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ๑๒. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๑๓. นายสิน กุมภะ ๑๔. นายอรรถพล มามะ
๑๕. นายวีระชัย วีระเมธีกุล ๑๖. นายเสกสรรค์ แสนภูมิ
๑๗. นายจตุพร เจริญเชื้อ ๑๘. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
๑๙. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๒๐. นายทองหล่อ พลโคตร
๒๑. นายสุชาย ศรีสุรพล ๒๒. นายโกเมศ ขวัญเมือง
๒๓. นายสนั่น สุธากุล ๒๔. นายเจือ ราชสีห์
๒๕. นายธนญ ตันติสุนทร ๒๖. นายยงยุทธ สุวภาพ
๒๗. นายนราพัฒน์ แก้วทอง ๒๘. นายวิรัช ร่มเย็น
๒๙. นายประกอบ รัตนพันธ์ ๓๐. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ
๓๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๒. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
๓๓. นายมงคล บุพศิริ ๓๔. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร
๓๕. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๗. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลบ้านเป็ดอำเภอเมืองขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๑)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายประชา มาลีนนท์)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
คมนาคม (นายประชา มาลีนนท์) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายโกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ ๒. นางดุษณีย์ หันตรา
๓. นายบรรเจิด อภินิเวศ ๔. นายกรัณย์ วุฒิเมธีกุล
๕. นายสมชาย จันทร์รอด ๖. นายอดิศร เพียงเกษ
๗. นายสฤต สันติเมทนีดล ๘. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๙. นายสากล ม่วงศิริ ๑๐. นายอนุสรณ์ ปั้นทอง
๑๑. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๑๒. นายชวลิต มหาจันทร์
๑๓. นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร ๑๔. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๕. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร ๑๖. นายธีระชัย แสนแก้ว
๑๗. นายภูมิ สาระผล ๑๘. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๙. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ๒๐. นายพงศกร อรรณนพพร
๒๑. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๒๒. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร
๒๓. นายฉลาด ขามช่วง ๒๔. นายไพศาล จันทวารา
๒๕. นายไชยยศ จิรเมธากร ๒๖. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๒๗. นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ ๒๘. นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ
๒๙. นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ ๓๐. นายสรศักดิ์ สร้อยสนธิ์
๓๑. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายประภาส วีระเสถียร ๓๔. นายศรคม ฦาชา
๓๕. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๘. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลชะอำ
อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายประชา มาลีนนท์)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายโกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ ๒. นางดุษณีย์ หันตรา
๓. นายบรรเจิด อภินิเวศ ๔. นายกรัณย์ วุฒิเมธีกุล
๕. นายสมชาย จันทร์รอด ๖. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ
๗. นาวาอากาศโท รวยลาภ เอี่ยมทอง ๘. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๙. นายการุญ จันทรางศุ ๑๐. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๑๑. นายธานี ยี่สาร ๑๒. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา
๑๓. นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา ๑๔. นายวิเศษ ใจใหญ่
๑๕. นายเสริมศักดิ์ การุญ ๑๖. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๗. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์ ๑๘. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
๑๙. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๒๐. นายแสวง ฤกษ์จรัล
๒๑. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๒. นายอลงกรณ์ พลบุตร
๒๓. นายอภิชาติ สุภาแพ่ง ๒๔. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
๒๕. นางกันตวรรณ กุลจรรยาวิวัฒน์ ๒๖. นายมนตรี ปาน้อยนนท์
๒๗. นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน ๒๘. ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์
๒๙. นายธนญ ตันติสุนทร ๓๐. นายวิทูร กรุณา
๓๑. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายประภาส วีระเสถียร ๓๔. นายศรคม ฦาชา
๓๕. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๖.๕๐ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๐๐ ต่อ ๓๒๒๘, ๓๒๓๐-๓๑
โทรสาร ๐ ๒๓๕๗ ๓๒๑๑
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติการฌาปนกิจสงเคราะห์ พ.ศ. ….
ตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน
๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๔ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อสร้างทางพิเศษสาย
บางปะอิน-ปากเกร็ด ในท้องที่อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อำเภอสามโคก
อำเภอคลองหลวง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี และอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร
พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลบ้านเป็ด
อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. …
. ๔. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลชะอำ
อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. ….
******************************