บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒
ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๑๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๕
ณ ตึกรัฐสภา
------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภา
ผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม จากนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน
ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมสภาผู้แทน
ราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ จำนวน ๑๐ ครั้ง คือ
ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ที่ประชุมได้รับรองรายงานการประชุมทั้ง ๑๐ ครั้งดังกล่าว
ต่อจากนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้
ที่ประชุมพิจารณาเรื่องที่เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน คือ ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำ
ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๒ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย
คลังผา เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๕)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ และนางผ่องศรี แซ่จึง เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๗)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้เสนอ ได้แถลงหลักการและ
เหตุผลตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ตอบชี้แจง
จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราช
บัญญัติทั้ง ๓ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕
คน เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นางสาวรสสุคนธ์ แสงอ่อน ๒. นายชัยยงค์ วุฒิมานานนท์
๓. นายนิพนธ์ ฮะกีมี ๔. นายพินิจ เนตรพุกกณะ
๕. พลตำรวจตรี พนมศักดิ์ ทั่งทอง ๖. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
๗. นางสาวสุพัตรา เกียรติมหาคุณ ๘. นายนิทัศน์ ศรีนนท์
๙. นายลิขิต หมู่ดี ๑๐. นายสิน กุมภะ
๑๑. นายพรชัย อรรถปรียางกูร ๑๒. นายอิทธิเดช แก้วหลวง
๑๓. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ ๑๔. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๕. นายประสพ บุษราคัม ๑๖. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์
๑๗. นายสุทธิชัย ลาภยิ่งยง ๑๘. นายพูลศักดิ์ อยู่ประเสริฐ
๑๙. นายสุวิชญ์ โยทองยศ ๒๐. นายอรรถพล มามะ
๒๑. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช ๒๒. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ
๒๓. นายจำรัส เวียงสงค์ ๒๔. นายจุติ ไกรฤกษ์
๒๕. นายสุวิทย์ เสงี่ยมกุล ๒๖. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกัณต์
๒๗. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒๘. นายพิทักษ์ สันติวงศ์เดชา
๒๙. นายสืบแสง พรหมบุญ ๓๐. นายทศพล เพ็งส้ม
๓๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๓๒. นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
๓๓. นางผ่องศรี แซ่จึง ๓๔. นายสุชาติ ศรีสังข์
๓๕. นายประมาณ เลืองวัฒนะวณิช
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอให้นำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘, ๙, ๑๐ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุม
เห็นชอบ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๔ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม พ.ศ. …. ซึ่ง ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน กับคณะ
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๑)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม พ.ศ. …. ซึ่ง นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย และนายสมชัย
ฉัตรพัฒนศิริ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นายนิสิต สินธุไพร กับคณะ เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
(๔) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ ต่อมา ประธานสภาผู้แทนราษฎรและรองประธานสภา
คนที่สองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม โดยมีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๕ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติ
ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญจำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายรุ่ง แก้วแดง
๓. นายสุเมธ แย้มนุ่น ๔. นายไพบูลย์ เสียงก้อง
๕. รองศาสตราจารย์วิริยะ นามศิริพงษ์พันธุ์ ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๘. นายนพดล อินนา
๙. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ ๑๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๑. นายสุรพล เกียรติไชยากร ๑๒. นายวิทยา ทรงคำ
๑๓. นายจตุพร เจริญเชื้อ ๑๔. นายเกษม อุประ
๑๕. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๑๖. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๑๗. นายพีระเพชร ศิริกุล ๑๘. นายสงกรานต์ คำพิไสย์
๑๙. นายสัญญา วัชรพันธุ์ ๒๐. นายพิษณุ ตุลสุข
๒๑. นายทวีศักดิ์ วิศิษฎางกูร ๒๒. นายธวัชชัย พิกุลแก้ว
๒๓. นายธวัชชัย สุทธิบงกช ๒๔. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๒๕. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ๒๖. ศาสตราจารย์สุรพล นิติไกรพจน์
๒๗. นายเจริญ คันธวงศ์ ๒๘. นายสืบแสง พรหมบุญ
๒๙. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๓๐. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๓๑. นายสุวรรณ กู้สุจริต ๓๒. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๓. นายโสภณ ซารัมย์ ๓๔. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๓๕. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๙) โดยที่ประชุม
เห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๔ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป
คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๑๒)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก และนายประทีป กรีฑาเวช เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นายนิสิต สินธุไพร กับคณะ เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
(๔) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและผู้เสนอได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่
แทน โดยมีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตอบชี้แจงจนได้
เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ทั้ง ๕ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายสมยศ มีเทศน์
๓. นายยันยงค์ คำบรรลือ ๔. นายอัชพร จารุจินดา
๕. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นายสุชน ชามพูนท
๑๑. นายวิพล นาคพันธ์ ๑๒. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์
๑๓. นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์ ๑๔. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๕. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล ๑๖. นายเอกธนัช อินทร์รอด
๑๗. นายขจิตร ชัยนิคม ๑๘. นายไชยา พรหมา
๑๙. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพย์สิทธิ์ ๒๐. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๒๑. นางมัณฑริกา วิฑูรชาติ ๒๒. นางอัจฉรา เธียรประสิทธิ์
๒๓. นายเพิ่ม หลวงแก้ว ๒๔. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๒๕. ศาสตราจารย์ปรัชญา เวสารัชช์ ๒๖. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๒๗. นายสนั่น สุธากุล ๒๘. นายประกอบ รัตนพันธุ์
๒๙. นายบุญส่ง ไข่เกษ ๓๐. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๓๑. นายธนิตพล ไชยนันทน์ ๓๒. นายอิทธิพล คุณปลื้ม
๓๓. นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ ๓๔. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๓๕. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
ก่อนเลิกประชุมผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ขอ
เปลี่ยนแปลงรายชื่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. จาก
นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ เป็นนายวุฒิพงษ์ ฉายแสง
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๔๕ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๐๐ ต่อ ๓๒๒๘, ๓๒๓๐-๓๑
โทรสาร ๐ ๒๓๕๗ ๓๒๑๑
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและ
สมาชิกฯ เสนอรวม ๓ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๕ ฉบับ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๕ ฉบับ)
*******************************
ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๑๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๕
ณ ตึกรัฐสภา
------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภา
ผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม จากนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน
ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมสภาผู้แทน
ราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ จำนวน ๑๐ ครั้ง คือ
ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
ที่ประชุมได้รับรองรายงานการประชุมทั้ง ๑๐ ครั้งดังกล่าว
ต่อจากนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้
ที่ประชุมพิจารณาเรื่องที่เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน คือ ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำ
ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๒ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย
คลังผา เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๕)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ และนางผ่องศรี แซ่จึง เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๗)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้เสนอ ได้แถลงหลักการและ
เหตุผลตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ตอบชี้แจง
จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราช
บัญญัติทั้ง ๓ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕
คน เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นางสาวรสสุคนธ์ แสงอ่อน ๒. นายชัยยงค์ วุฒิมานานนท์
๓. นายนิพนธ์ ฮะกีมี ๔. นายพินิจ เนตรพุกกณะ
๕. พลตำรวจตรี พนมศักดิ์ ทั่งทอง ๖. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
๗. นางสาวสุพัตรา เกียรติมหาคุณ ๘. นายนิทัศน์ ศรีนนท์
๙. นายลิขิต หมู่ดี ๑๐. นายสิน กุมภะ
๑๑. นายพรชัย อรรถปรียางกูร ๑๒. นายอิทธิเดช แก้วหลวง
๑๓. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ ๑๔. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๕. นายประสพ บุษราคัม ๑๖. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์
๑๗. นายสุทธิชัย ลาภยิ่งยง ๑๘. นายพูลศักดิ์ อยู่ประเสริฐ
๑๙. นายสุวิชญ์ โยทองยศ ๒๐. นายอรรถพล มามะ
๒๑. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช ๒๒. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ
๒๓. นายจำรัส เวียงสงค์ ๒๔. นายจุติ ไกรฤกษ์
๒๕. นายสุวิทย์ เสงี่ยมกุล ๒๖. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกัณต์
๒๗. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒๘. นายพิทักษ์ สันติวงศ์เดชา
๒๙. นายสืบแสง พรหมบุญ ๓๐. นายทศพล เพ็งส้ม
๓๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๓๒. นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
๓๓. นางผ่องศรี แซ่จึง ๓๔. นายสุชาติ ศรีสังข์
๓๕. นายประมาณ เลืองวัฒนะวณิช
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอให้นำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘, ๙, ๑๐ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุม
เห็นชอบ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๘)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๔ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม พ.ศ. …. ซึ่ง ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน กับคณะ
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๑)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม พ.ศ. …. ซึ่ง นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย และนายสมชัย
ฉัตรพัฒนศิริ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นายนิสิต สินธุไพร กับคณะ เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
(๔) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ ต่อมา ประธานสภาผู้แทนราษฎรและรองประธานสภา
คนที่สองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม โดยมีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๕ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติ
ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญจำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายรุ่ง แก้วแดง
๓. นายสุเมธ แย้มนุ่น ๔. นายไพบูลย์ เสียงก้อง
๕. รองศาสตราจารย์วิริยะ นามศิริพงษ์พันธุ์ ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๘. นายนพดล อินนา
๙. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ ๑๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๑. นายสุรพล เกียรติไชยากร ๑๒. นายวิทยา ทรงคำ
๑๓. นายจตุพร เจริญเชื้อ ๑๔. นายเกษม อุประ
๑๕. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๑๖. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๑๗. นายพีระเพชร ศิริกุล ๑๘. นายสงกรานต์ คำพิไสย์
๑๙. นายสัญญา วัชรพันธุ์ ๒๐. นายพิษณุ ตุลสุข
๒๑. นายทวีศักดิ์ วิศิษฎางกูร ๒๒. นายธวัชชัย พิกุลแก้ว
๒๓. นายธวัชชัย สุทธิบงกช ๒๔. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๒๕. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ๒๖. ศาสตราจารย์สุรพล นิติไกรพจน์
๒๗. นายเจริญ คันธวงศ์ ๒๘. นายสืบแสง พรหมบุญ
๒๙. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๓๐. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๓๑. นายสุวรรณ กู้สุจริต ๓๒. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๓. นายโสภณ ซารัมย์ ๓๔. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๓๕. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๙) โดยที่ประชุม
เห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๔ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป
คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๑๒)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก และนายประทีป กรีฑาเวช เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นายนิสิต สินธุไพร กับคณะ เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
(๔) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. …. ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและผู้เสนอได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่
แทน โดยมีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตอบชี้แจงจนได้
เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ทั้ง ๕ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายสมยศ มีเทศน์
๓. นายยันยงค์ คำบรรลือ ๔. นายอัชพร จารุจินดา
๕. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นายสุชน ชามพูนท
๑๑. นายวิพล นาคพันธ์ ๑๒. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์
๑๓. นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์ ๑๔. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๕. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล ๑๖. นายเอกธนัช อินทร์รอด
๑๗. นายขจิตร ชัยนิคม ๑๘. นายไชยา พรหมา
๑๙. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพย์สิทธิ์ ๒๐. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๒๑. นางมัณฑริกา วิฑูรชาติ ๒๒. นางอัจฉรา เธียรประสิทธิ์
๒๓. นายเพิ่ม หลวงแก้ว ๒๔. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๒๕. ศาสตราจารย์ปรัชญา เวสารัชช์ ๒๖. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๒๗. นายสนั่น สุธากุล ๒๘. นายประกอบ รัตนพันธุ์
๒๙. นายบุญส่ง ไข่เกษ ๓๐. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๓๑. นายธนิตพล ไชยนันทน์ ๓๒. นายอิทธิพล คุณปลื้ม
๓๓. นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ ๓๔. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๓๕. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
ก่อนเลิกประชุมผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ขอ
เปลี่ยนแปลงรายชื่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. จาก
นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ เป็นนายวุฒิพงษ์ ฉายแสง
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๔๕ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๐๐ ต่อ ๓๒๒๘, ๓๒๓๐-๓๑
โทรสาร ๐ ๒๓๕๗ ๓๒๑๑
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและ
สมาชิกฯ เสนอรวม ๓ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษา พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๕ ฉบับ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๕ ฉบับ)
*******************************