สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ปริมาณการผลิตและความต้องการบริโภคโดยรวมยังทรงตัวและยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือปรับตัวลดลงราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 28.84 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 28.97 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.49 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 28.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 29.08 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 27.61 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 31.69 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาท (บวกลบ 36) ลดลงจากตัวละ 700 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 14.29ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 28.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 3.57 และราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ราคาที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง ในทุกพื้นที่ความต้องการบริโภคโดยรวมยังทรงตัว ในขณะที่การส่งออกยังชะลอตัว แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 23.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 23.27 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.77 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 24.50 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 22.97 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 21.48 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 21.68 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 2.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นอีกในทุกพื้นที่จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลจากการปลดแม่ไก่ไข่ออกจากระบบไปส่วนหนึ่งเพื่อลดผลผลิต ทำให้ปริมาณผลผลิตลดลง ความต้องการบริโภคโดยรวมยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือปรับตัวเพิ่มขึ้นราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 126 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 120 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 5.00 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 135 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 126 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 121 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 137 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 12 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 10 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 20ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 154 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 141 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 9.22
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 175 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยฟองละ 171 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.34 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 156 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 175 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 180 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 196 บาท ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 225 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 47.44 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 45.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 51.86 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 40.95 บาท ภาคใต้กิโลกรัมละ 39.67 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 34.72 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 34.86 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 23.20 บาท ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 57 ประจำวันที่ 17-23 ก.พ. 2546--
-สส-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ปริมาณการผลิตและความต้องการบริโภคโดยรวมยังทรงตัวและยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือปรับตัวลดลงราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 28.84 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 28.97 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.49 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 28.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 29.08 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 27.61 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 31.69 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาท (บวกลบ 36) ลดลงจากตัวละ 700 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 14.29ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 28.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 3.57 และราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ราคาที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง ในทุกพื้นที่ความต้องการบริโภคโดยรวมยังทรงตัว ในขณะที่การส่งออกยังชะลอตัว แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 23.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 23.27 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.77 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 24.50 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 22.97 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 21.48 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 21.68 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 2.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นอีกในทุกพื้นที่จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลจากการปลดแม่ไก่ไข่ออกจากระบบไปส่วนหนึ่งเพื่อลดผลผลิต ทำให้ปริมาณผลผลิตลดลง ความต้องการบริโภคโดยรวมยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือปรับตัวเพิ่มขึ้นราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 126 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 120 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 5.00 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 135 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 126 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 121 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 137 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 12 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 10 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 20ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 154 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 141 บาท ของสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 9.22
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 175 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อนร้อยฟองละ 171 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.34 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 156 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 175 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 180 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 196 บาท ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 225 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 47.44 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 45.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 51.86 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 40.95 บาท ภาคใต้กิโลกรัมละ 39.67 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 34.72 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 34.86 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 23.20 บาท ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 57 ประจำวันที่ 17-23 ก.พ. 2546--
-สส-