แท็ก
การจัดการคุณภาพ
องค์ประกอบสำคัญของสินค้า
- คุณภาพ
- การนำเสนอ
- สี
- ขนาด
- การส่งสินค้า
- การออกแบบและการนำวัตถุดิบที่นำมาใช้
1. หากต้องการเจาะตลาดซึ่งยังใหม่อยู่จำเป็นต้องพึ่งมืออาชีพ
2. หากผลิตสินค้าต้นทุนต่ำ และจำมีตลาดใหญ่รองรับควรติดต่อผู้ค้าส่งหรือผู้แทนจำหน่ายด้วยตนเอง
3. หากธุรกิจขนาดเล็กที่ผลิตสินค้าต้นทุนต่ำ ไม่สามารถเสียค่าใช้จ่ายในการขายสูงเกินไป จำเป็นต้องขายตรงกับผู้บริโภค (ไปรษณีย์) ซึ่งต้องทำโบรชัวร์ ค่าสั่งของและรับของจากโรงงาน
การเป็นผู้นำ (LEADERSHIP)
L (love) = รักความก้าวหน้า,ยุติธรรม,หน้าที่,ผู้ใต้บังคับบัญชา
E (EDUCATUON % EXPERIENCED) = พยายามศึกษาหาประสบการณ์
A (ADAPTAVILITY) = สามารถปรับระบบการทำงานให้ทันสมัยอยู่เสมอทันต่อโลกและเหตุการณ์
D (DECISIVINESS) = สามรถตัดสินใจได้รวดเร็ว ถูกต้องพลันในการสั่งการ
E (ENTHUSIASM) = มีความกระตือรือร้น สนใจในงานอย่างแท้จริง
R (RESPONSIBILITY) = มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงาน
S (SACRIFICE % SINCERE) = ต้องเสียสละทำงานเพื่อส่วนรวมหรือสังคมอย่างจริงใจ
H (HARMONIZE) = มีบุคลิกภาพที่ดีไม่ว่ากริยา มารยาท และสามารถวางตัวเข้ากับทุกชนชั้น
I (INTELLECTUAL CAPACITY) = ต้องฉลาดมีไหวพริบ รู้ทันคน
P (PERSUASIVENESS) = ความสามารถจูงใจคน
คาถาเมตตามหานิยมสำหรับทำการค้า
*** หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ***
1. เคารพวิชาชีพที่เราเล่าเรียนฝึกฝนมา อย่าทำอะไร ชุ่ยๆ ทำให้ดีขึ้นเป็นลำดับ
2. จะทำอะไรให้คนอื่น ต้องทำให้ดี ให้เรียบร้อยสวยงามเหมือนทำให้กับตนเอง
3. เมตตาสงสารเขา อย่าขูดเลือดเนื้อกันนักเอาแต่พอสมควร
4. ซื้อสัตย์ต่อผู้อื่น รักษาน้ำใจ รักษาเวลา และรักษาคุณภาพของกิจการให้ดีไว้เสมอ
มุมมอง ของนักเศรษฐศาสตร์ ต่างศาสนา
อี เอฟ ซู มาคเกอร์
"ประเด็นสำคัญ ของเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ"
พุทธศาสนา
เน้นที่ทางสายกลาง จึงไม่ขัดขวางการพัฒนาด้านวัตถุในขณะที่ทั้วโลกมุ่งการพัฒนาวัตถุต่างๆ (วัตถุนิยม) แต่พุทธศาสนาสนิกชนมุ่งปลดปล่อยตนเองให้หลุดพ้นจากพันธนาการจากด้านวัตถุเป็นประเด็นสำคัญ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
ถือความเรียบง่าย ไร้ความรุนแรง เป็นยุทธ์วิธีในการดำเนินชีวิตอย่างน่าอัศจรรย์ เพราะเป็นแบบอย่างพร้อมด้วยเหตุและผลใช้วิถีทางอันแยบยล แต่นำไปสู่ผลที่น่าพึงพอใจ เป็นพิเศษ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
มุ่งการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกิจการงานทางธรรมชาติอย่างไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยเศรษฐกิจและการเมือง เช่นนี้ ย่อมไม่ใหญ่โตเกินไป เหมาะกับองค์กรที่ไม่สลับซับซ้อน (Re -- Engencering) เช่น กลุ่มชนเล็กๆ ในประเทศไทย จะดำเนินงานได้สะดวกสบาย สนุกสนาน
การทำงานจึงเป็นการปฏิบัติธรรมไปด้วยในตัว
เช่นการวางแผนสอดคล้องกับนิเวศน์วิทยาและเป็นไปได้ในสังคมอย่างบริสุทธิ์ ยุติธรรมให้วัตถุเป็นตัวรับใช้มนุษย์ไม่ใช่เป็นตัวกำหนดให้มนุษย์อยู่ใต้อิทธิพลของมัน วัตถุควรช่วยผ่อนแรง เพื่อให้มนุษย์ลดความเห็นแก่ตัวไม่ใช้มาเป็นมนุษย์
ผลกระทบต่อชุมชนในประเทศไทยในปัจจุบัน
จากการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมที่รวมเร็วปัจจุบันทำให้คนในชุมชนปรับความคิด จิตใจ พฤติกรรมไม่ทัน จึงตกอยู่ในฐานะเสียเปรียบเป็นเหยื่อของการพัฒนาถูกชักจูงให้สับสนตกอยู่ในขบวนการ ทุนนิยม และ บริโภคนิยม ด้านการพัฒนาวัตถุอุตสาหกรรม ด้วยการชักชวนการโฆษณาเชิญชวนในการผลิตและบริโภคในทางที่ผิดเกินกำลังปัญญาของตน ทำให้มีหนี้สินมากขึ้น รายได้ไม่พอกับรายจ่าย เพราะขาดความสนใจศึกษาด้านศาสนา ทำให้เกิดสิ่งบั่นทอนสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิต คือ
1. ความไม่เพียงพอในปัจจัยพื้นฐาน คือบ้าน อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค
2. ความเสื่อมโทรม อย่างรวดเร็วของสิ่งแวดล้อมเกิดปัญหาโรคภัยร้ายแรง
3. สร้างทัศนคติที่ผิดโดยวัดคุณค่าของคนด้วยเงิน วัตถุ และอำนาจ
4. เกิดความเห็นแก่ตัว สร้างความเหลื่อมล้ำของรายได้และโอกาสอย่างไม่เป็นธรรมของชุมชน
"การพัฒนาสังคมหรือชุมชน"
ในภาพรวมเพื่อให้สังคมหรือชุมชนพัฒนาตัวเองโดยรู้จักสร้างแนวคิดบนพื้นฐานเศรษฐศาสตร์เชิงปรัชญาทางศาสนา คือ มุ่งการผลิตและบิโภคอย่างเหมาะสม พอเพียงสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติอย่างสมดุลของสังคมหรือชุมชนนั้นๆ เลือกใช้เทคโนโลยีเหมาะสม ไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ มีความเป็นไปได้สำหรับสังคมขนาดเล็กไม่สลับซับซ้อน มีความบริสุทธิ์ ยุติธรรม (คุณธรรม จริยธรรม)
ในเชิงรุก
1. พัฒนาทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. พัฒนาทุนในท้องถิ่น เพื่อการทำธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ
3. พัฒนาคนให้มีส่วนร่วมในความคิด
4. พัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระบบ
ในเชิงรับ
1. ป้องกัน นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม
2. ป้องกัน สังคมไม่ให้เป็นทาสด้านวัตถุ
3. ป้องกัน ความสูญเสียความเป็นสังคมแบบเดิม
แนวทางสร้างเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตัวเอง
1. สร้างปัจจัยพื้นฐาน
บ้านที่อยู่อาศัย
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโรค
2. คำนึงถึงความต้องการเพื่อเสริมคุณภาพชีวิต
การคมนาคม และการสื่อสาร
เครื่องสาธารณูปโภค และ สาธารณูปการ
เทคโนโลยีที่เหมาะสม
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อชุมชน
การส่งเสริมวิชาชีพ
|
มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม
|
กุศล + อุบาย
|
กุศโลยาย
|
อุบายอันเยบยล
|
วิธีการ การทำ การแก้ปัญหา โดยามุ่งสู่ความสำเร็จ
โครงสร้าง และ ทิศทาง
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อชุมชน
กรมส่งเสริมวิชาชีพ ต้องอยู่บนพื้นฐาน ความต้องการ ความถนัด และทักษะที่มีอยู่ในวิถีชีวิต
หรือจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน
มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม คือขบวนการวิวัฒนาการในการทำงานอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพที่
ไม่ขัดแย้งต่อระบบ นิเวศน์วิทยาและสังคมเพื่อสร้างสรร
เพื่อความต้องการที่แท้จริงของมนุษย์ คือ ปัจจัย 4
- อาหาร ที่ถูกสุขลักษณะในการผลิตและบริโภค
- เครื่องนุ่งห่ม ที่ถูกสุขลักษณะเหมะสมและปลอดภัย
- ยารักษาโรค
- ที่อยู่อาศัย โดยคำนึงถึง สภาพแวดล้อมทางสังคมและธรรมชาติที่ดี
สิ่งที่นำมาพิจารณา
1. โครงการนั้นต้องไม่มุ่ง แต่พัฒนาด้านวัตถุอย่างเห็นแก่ตัว หมายถึง โครงสร้างการผลิตต้องไม่อยู่บนพื้นฐาน การทำลายที่รุนแรงต่อความอุดมสมบูรณ์ ด้านนิเวศน์วิทยา ไม่ว่าพื้นที่เกษตรดิน แหล่งน้ำ อากาศ ตลอดทั้งพื้นฐานของชุมชน
2. โครงการนั้นต้องมีจริยธรรม คุณธรรมในทรัพยากรธรรมชาติที่มีจำกัดอย่างมีเหตุผลรวมถึงส่งเสริมการบริโภคอุปโภคอย่างสำรวม มีขอบเขต เพื่อความอยู่ดี -- กินดี มีประโชยน์โดยรวมต่อชุมชนอย่างเป็นธรรม
3. ชุมชนต้องมีโอกาสรับรู้ แสดงความคิดเห็น เสนอแนะในหลักการ วิธีการ ปฏิบัติการ ของโครงการนั้นๆ เพื่อไม่ถูกลิดรอน เอาเปรียบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการสูญเสีย ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นสิทธิเสมอภาคของทุกๆ คน อาทิ วัตถุดิบ ที่ดิน แหล่งน้ำ อันอุดมสมบูรณ์ และอากาศที่สะอาดบริสุทธ์
อะไรเกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน์
เกิดโครงสร้างเสรีระดับโลก เรียกว่า ธุรกิจข้ามชาติ มีการบริหาร การลงทุน การผลิต และการตลาดที่ครบวงจร ในธุรกิจต่างๆ ในที่นี้ รวมถึง อุตสาหกรรมเกษตรและการเกษตรกรรมด้วยเช่น รูปแบบ
- การลงทุน (Joint Venture)
- การให้อำนาจสิทธิ หรือ เป็นตัวแทนทางการค้า (License)
- การให้สัมปทาน สิทธิพิเศษในการขายระบบในการรับสินค้า และบริการมา
- จำหน่าย (Franchise)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อควบคุมผลผลิตทางการเกษตรโดยแสวงหา แรงงาน วัตถุดิบ แสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่ สู่การแสวงหากำไรสูงสุด
2. เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ดั้งเดิมในท้องถิ่น เช่น
- การทำนาแบบเดิม มาใช้ทุน เทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อควบคุมการผลิต ไม่าว่าพันธ์พืช ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง เครื่องจักรกล การบริหารงาน
- ปฏิรูปที่ดิน เป็นการถือครองที่นาทำกินของนายทุนมาให้ชาวนากลายเป็นผู้ใช้แรงงานในภาคเกษตร และอุตสาหกรรมในเมือง
- เปลี่ยนแปลงอุปนิสัย รสนิยมในการอุปโภค บริโภค ดั้งเดิม มาเป็น ลัทธิบริโภคนิยม (Consumerism) คือ ราษฎรจะมีความต้องการอุปโภค บริโภค ในชีวิตประจำวัน ไม่มีที่สิ้นสุด ฟุ้มเฟือยขาดเหตุผลที่ไม่เหมาะสม โดยถูกกระตุ้นทางโฆษณาของบริษัทข้ามชาติผ่านสื่อต่างๆ ตลอดทั้งมีความได้เปรียบทางอำนาจผูกขาด ด้านการผลิตสินค้าและบริการ ที่ขาดสามัญสำนึก รับผิดชอบต่อสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม
อ้างเหตุผล
เป็นการเพิ่มผลผลิตทางด้านการเกษตรให้ได้คุณภาพและประสิทธิภาพ คือ สามารถผลิตอาหารได้เร็วที่สุด ถูกที่สุด และใช้แรงน้อยที่สุด
ข้อเท็จจริง
ได้อำพรางข้อมูลบางอย่างไว้ เช่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานอย่างสิ้นเปลืองฟุ่มเฟือยที่สุด ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมของสังคมโลก เช่น อากาศเป็นพิษดินและน้ำเสียและถูกทำลาย เพื่อตอบสนองธุรกิจ ขนาดใหญ่ คือ ธุรกิจการตลาด ของเครื่องจักรกล ปุ๋ย ยาและสารเคมีเท่านั้น
- คำถาม เกษตรกรมีศักยภาพที่จะดำเนินธุรกิจ หรือไม่?
- คำตอบ มีแต่ไม่ได้ถูกนำมาใช้
วิธีการ
1. เน้นการพัฒนาเกษตรกร หรือ ทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญให้มีสำนึกบนพื้นฐานการพึ่งพาตนเองโดยร่วมกันลงทุน เพื่อการผลิตและบริการ ร่วมกันซื้อ ร่วมกันขาย อย่างมีเหตุผล
2. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพภายใน (จิตใจ) และศักยภาพภายนอก (ร่างกาย) ในเชิงพุทธ มีความรับผิดชอบ การบริหารธุรกิจ การลงทุน การผลิต รูปแบบและการตลาดอย่างมีคุณธรรม และจริยธรรมใช้ปัญญา แก้ไขปัญหาด้วยเหตุและผล พิจารณารับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสม
เกษตรอุตสาหกรรมแยกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
- ข้าวและธัญพืช
- ผักและผลไม้
- ประมง
- ปศุสัตย์
หลักการว่าด้วยอุตสาหกรรมเกษตร
- การเก็บถนอมอาหาร
- การแปรรูปอาหาร
- ปลักสุขลักษณะอนามัยในการผลิตและการบริโภค
การเก็บถนอมอาหาร
คือ การรักษาคงคุณภาพตลอดทั้งช่วยยืออายุการเก็บรักษาผลผลิตจากการเกษตรให้มีความสดและดีที่สุดก่อนถึงมือผู้บริโภคหรือโรงงาน เช่น การหีบห่อบรรจุภัณฑ์ เพื่อชะลออการหายใจและการคายน้ำประเภทผัก ผลไม้ หรือวิธีการแช่แข็งประเภทผักผลไม้ เนื้อสัตว์
การแปรรูป
หมายถึง การนำผลผลิตทางการเกษตรซึ่งมีอยู่ในรูปวัตถุดิบมาผ่านขบวนการด้านวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี มาใช้ในกรรมวิธีการผลิต การแปรสภาพเพื่อสามารถบริโภค มีอายุยืนยาวขึ้นตลอดทั้งความสะดวกสบายในรูป ผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
ประเด็นปัญหาของอุตสาหกรรมเกษตร
1. การผลิตวัตถุดิบมีปัญหา
- คุณภาพประสิทธิภาพการผลิตไม่สม่ำเสมอ และเพียงพอตรงกับความต้องการหรือความนิยมของตลาด
- ราคาไม่แน่นอน
- การจัดส่งวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปไม่ตรงกำหนด
2. ขาดเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย ประสิทธิภาพและคุณภาพการผลิตต่ำ ยังไม่ได้มาตรฐานและขาดความรู้ด้านการจัดการ
3. ระบบตลาดข้อตกลง (Contract Farming) ยังไม่บรรลุผลเป็นรูปธรรมอุตสาหกรรมหรือกิจกรรมสนับสนุน ที่จำเป็นต่อการ - พัฒนาอุตสาหกรรม
- อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์
- ธุรกิจการตรวจสอบคุณภาพ
- ธุรกิจการขนส่ง
- ระบบการกระจายสินค้าและวัตถุดิบ
- การบริการข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย รวดเร็วและถูกต้อง
- การวิจัยและพัฒนา (ทำทันทีอย่าดีแต่พูด) ธุรกิจแผนใหม่ในการผลิตสินค้าใหม่ๆ เพื่อทดแทนการนำเข้าและมีลู่ทางการส่งออก
วิธีแก้ไข ลักษณะในการผลิตสินค้า
- วัตถุดิบที่ควรใช้และห้ามใช้
- กระบวนการผลิตที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม
- แรงงานที่มีความชำนาญ และจำเป็นต้องใช้
- เครื่องจักรอุปกรณ์ การผลิต ตลอดทั้งระบบการขนถ่ายสินค้าที่เหมาะสม
- การควบคุมวัตถุดิบและวิธีการแจกจ่าย
- การสต๊อกส่วนประกอบของสินค้าที่ผลิต
- การควบคุมคุณภาพและประสิทธิภาพของสินค้า เป็นไปตามมาตรฐาน หรือกฏระเบียบของสังคมโลก
การบรรจุภัณฑ์อาหาร
Food Packaging
ปัจจุบันถือเป็นขบวนการขั้นตอนหนึ่ง ที่สำคัญของการผลิต วัตถุประสงค์
1. ป้องกันสินค้าหรืออาหารปลอดภัยจากการปนเปื้อนของฝุ่นละออง จุลินทรีและแมลงต่างๆ
2. ป้องกันและรักษาอาหาร ทำปฏิกริยากับสภาพแวดล้อม เช่น ความร้อน อากาศ แสงแดด และความชื้น ให้ความสะดวกสบายในขบวนการเก็บรักษาและบริโภค สอดคล้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไป
3. ให้ความปลอดภัยในการขนส่งจากแหล่งผลิตจนถึงมือผู้บริโภค
4. เป็นกลยุทธ์ส่งเสริมการขาย ดุจนักขายเงียบ (Silence Sale Man) นอกจากจะให้รายละเอียดข้อมูล ยังสร้างภาพลักษณ์ความเชื่อถือศรัทธา เพิ่มมูลค่าตัวสินค้าหรืออาหารและที่สุดเป็นตัวเร่งให้ผู้บริโภคตัดสินใจได้เร็วขึ้น
การคัดเลือกบรรจุภัณฑ์
ควรพิจารณาถึงตลาดหรือกลุ่มเป้าหมาย ว่าใคร อยู่ที่ไหน ต้องการอะไร เมื่อไร จำนวนมากแค่ไหน อย่างไร ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจลงทุน ออกแบบได้ถูกต้องชัดเจน นอกจากนี้ ควรพิจารณาลักษณะ หรือขบวนการขั้นตอนต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างผลิต แปรรูปถนอมอาหาร หรือการเก็บรักษา การขนส่ง และอื่นๆ อาทิ
1. อาหารที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน (Thermal Processed Food)
วิธีพลาสเจอไรซ์ คือการฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิไม่สูงประมาณ 60 - 70 องศา
เซลเซียสเวลาไม่เกิน 30 นาที
วิธีการสเตอริไลเซชั่น คือการฆ่าเชื้ออุณหภูมิที่สูงประมาณ 100 - 121 องศา
เซลเซียสใช้เวลาเพียง 15 - 60 นาที (สามารถฆ่าจุนลินทรีย์ได้ทุกชนิด)
วิธี ยู เอส ที (U.H.T.) คือการฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 130 - 150 องศาเซลเซียส ใช้เวลาเพียง 2 - 3 วินาที
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-
- คุณภาพ
- การนำเสนอ
- สี
- ขนาด
- การส่งสินค้า
- การออกแบบและการนำวัตถุดิบที่นำมาใช้
1. หากต้องการเจาะตลาดซึ่งยังใหม่อยู่จำเป็นต้องพึ่งมืออาชีพ
2. หากผลิตสินค้าต้นทุนต่ำ และจำมีตลาดใหญ่รองรับควรติดต่อผู้ค้าส่งหรือผู้แทนจำหน่ายด้วยตนเอง
3. หากธุรกิจขนาดเล็กที่ผลิตสินค้าต้นทุนต่ำ ไม่สามารถเสียค่าใช้จ่ายในการขายสูงเกินไป จำเป็นต้องขายตรงกับผู้บริโภค (ไปรษณีย์) ซึ่งต้องทำโบรชัวร์ ค่าสั่งของและรับของจากโรงงาน
การเป็นผู้นำ (LEADERSHIP)
L (love) = รักความก้าวหน้า,ยุติธรรม,หน้าที่,ผู้ใต้บังคับบัญชา
E (EDUCATUON % EXPERIENCED) = พยายามศึกษาหาประสบการณ์
A (ADAPTAVILITY) = สามารถปรับระบบการทำงานให้ทันสมัยอยู่เสมอทันต่อโลกและเหตุการณ์
D (DECISIVINESS) = สามรถตัดสินใจได้รวดเร็ว ถูกต้องพลันในการสั่งการ
E (ENTHUSIASM) = มีความกระตือรือร้น สนใจในงานอย่างแท้จริง
R (RESPONSIBILITY) = มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงาน
S (SACRIFICE % SINCERE) = ต้องเสียสละทำงานเพื่อส่วนรวมหรือสังคมอย่างจริงใจ
H (HARMONIZE) = มีบุคลิกภาพที่ดีไม่ว่ากริยา มารยาท และสามารถวางตัวเข้ากับทุกชนชั้น
I (INTELLECTUAL CAPACITY) = ต้องฉลาดมีไหวพริบ รู้ทันคน
P (PERSUASIVENESS) = ความสามารถจูงใจคน
คาถาเมตตามหานิยมสำหรับทำการค้า
*** หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ***
1. เคารพวิชาชีพที่เราเล่าเรียนฝึกฝนมา อย่าทำอะไร ชุ่ยๆ ทำให้ดีขึ้นเป็นลำดับ
2. จะทำอะไรให้คนอื่น ต้องทำให้ดี ให้เรียบร้อยสวยงามเหมือนทำให้กับตนเอง
3. เมตตาสงสารเขา อย่าขูดเลือดเนื้อกันนักเอาแต่พอสมควร
4. ซื้อสัตย์ต่อผู้อื่น รักษาน้ำใจ รักษาเวลา และรักษาคุณภาพของกิจการให้ดีไว้เสมอ
มุมมอง ของนักเศรษฐศาสตร์ ต่างศาสนา
อี เอฟ ซู มาคเกอร์
"ประเด็นสำคัญ ของเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ"
พุทธศาสนา
เน้นที่ทางสายกลาง จึงไม่ขัดขวางการพัฒนาด้านวัตถุในขณะที่ทั้วโลกมุ่งการพัฒนาวัตถุต่างๆ (วัตถุนิยม) แต่พุทธศาสนาสนิกชนมุ่งปลดปล่อยตนเองให้หลุดพ้นจากพันธนาการจากด้านวัตถุเป็นประเด็นสำคัญ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
ถือความเรียบง่าย ไร้ความรุนแรง เป็นยุทธ์วิธีในการดำเนินชีวิตอย่างน่าอัศจรรย์ เพราะเป็นแบบอย่างพร้อมด้วยเหตุและผลใช้วิถีทางอันแยบยล แต่นำไปสู่ผลที่น่าพึงพอใจ เป็นพิเศษ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
มุ่งการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกิจการงานทางธรรมชาติอย่างไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยเศรษฐกิจและการเมือง เช่นนี้ ย่อมไม่ใหญ่โตเกินไป เหมาะกับองค์กรที่ไม่สลับซับซ้อน (Re -- Engencering) เช่น กลุ่มชนเล็กๆ ในประเทศไทย จะดำเนินงานได้สะดวกสบาย สนุกสนาน
การทำงานจึงเป็นการปฏิบัติธรรมไปด้วยในตัว
เช่นการวางแผนสอดคล้องกับนิเวศน์วิทยาและเป็นไปได้ในสังคมอย่างบริสุทธิ์ ยุติธรรมให้วัตถุเป็นตัวรับใช้มนุษย์ไม่ใช่เป็นตัวกำหนดให้มนุษย์อยู่ใต้อิทธิพลของมัน วัตถุควรช่วยผ่อนแรง เพื่อให้มนุษย์ลดความเห็นแก่ตัวไม่ใช้มาเป็นมนุษย์
ผลกระทบต่อชุมชนในประเทศไทยในปัจจุบัน
จากการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมที่รวมเร็วปัจจุบันทำให้คนในชุมชนปรับความคิด จิตใจ พฤติกรรมไม่ทัน จึงตกอยู่ในฐานะเสียเปรียบเป็นเหยื่อของการพัฒนาถูกชักจูงให้สับสนตกอยู่ในขบวนการ ทุนนิยม และ บริโภคนิยม ด้านการพัฒนาวัตถุอุตสาหกรรม ด้วยการชักชวนการโฆษณาเชิญชวนในการผลิตและบริโภคในทางที่ผิดเกินกำลังปัญญาของตน ทำให้มีหนี้สินมากขึ้น รายได้ไม่พอกับรายจ่าย เพราะขาดความสนใจศึกษาด้านศาสนา ทำให้เกิดสิ่งบั่นทอนสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิต คือ
1. ความไม่เพียงพอในปัจจัยพื้นฐาน คือบ้าน อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค
2. ความเสื่อมโทรม อย่างรวดเร็วของสิ่งแวดล้อมเกิดปัญหาโรคภัยร้ายแรง
3. สร้างทัศนคติที่ผิดโดยวัดคุณค่าของคนด้วยเงิน วัตถุ และอำนาจ
4. เกิดความเห็นแก่ตัว สร้างความเหลื่อมล้ำของรายได้และโอกาสอย่างไม่เป็นธรรมของชุมชน
"การพัฒนาสังคมหรือชุมชน"
ในภาพรวมเพื่อให้สังคมหรือชุมชนพัฒนาตัวเองโดยรู้จักสร้างแนวคิดบนพื้นฐานเศรษฐศาสตร์เชิงปรัชญาทางศาสนา คือ มุ่งการผลิตและบิโภคอย่างเหมาะสม พอเพียงสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติอย่างสมดุลของสังคมหรือชุมชนนั้นๆ เลือกใช้เทคโนโลยีเหมาะสม ไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ มีความเป็นไปได้สำหรับสังคมขนาดเล็กไม่สลับซับซ้อน มีความบริสุทธิ์ ยุติธรรม (คุณธรรม จริยธรรม)
ในเชิงรุก
1. พัฒนาทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. พัฒนาทุนในท้องถิ่น เพื่อการทำธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ
3. พัฒนาคนให้มีส่วนร่วมในความคิด
4. พัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระบบ
ในเชิงรับ
1. ป้องกัน นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม
2. ป้องกัน สังคมไม่ให้เป็นทาสด้านวัตถุ
3. ป้องกัน ความสูญเสียความเป็นสังคมแบบเดิม
แนวทางสร้างเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตัวเอง
1. สร้างปัจจัยพื้นฐาน
บ้านที่อยู่อาศัย
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโรค
2. คำนึงถึงความต้องการเพื่อเสริมคุณภาพชีวิต
การคมนาคม และการสื่อสาร
เครื่องสาธารณูปโภค และ สาธารณูปการ
เทคโนโลยีที่เหมาะสม
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อชุมชน
การส่งเสริมวิชาชีพ
|
มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม
|
กุศล + อุบาย
|
กุศโลยาย
|
อุบายอันเยบยล
|
วิธีการ การทำ การแก้ปัญหา โดยามุ่งสู่ความสำเร็จ
โครงสร้าง และ ทิศทาง
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อชุมชน
กรมส่งเสริมวิชาชีพ ต้องอยู่บนพื้นฐาน ความต้องการ ความถนัด และทักษะที่มีอยู่ในวิถีชีวิต
หรือจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน
มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม คือขบวนการวิวัฒนาการในการทำงานอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพที่
ไม่ขัดแย้งต่อระบบ นิเวศน์วิทยาและสังคมเพื่อสร้างสรร
เพื่อความต้องการที่แท้จริงของมนุษย์ คือ ปัจจัย 4
- อาหาร ที่ถูกสุขลักษณะในการผลิตและบริโภค
- เครื่องนุ่งห่ม ที่ถูกสุขลักษณะเหมะสมและปลอดภัย
- ยารักษาโรค
- ที่อยู่อาศัย โดยคำนึงถึง สภาพแวดล้อมทางสังคมและธรรมชาติที่ดี
สิ่งที่นำมาพิจารณา
1. โครงการนั้นต้องไม่มุ่ง แต่พัฒนาด้านวัตถุอย่างเห็นแก่ตัว หมายถึง โครงสร้างการผลิตต้องไม่อยู่บนพื้นฐาน การทำลายที่รุนแรงต่อความอุดมสมบูรณ์ ด้านนิเวศน์วิทยา ไม่ว่าพื้นที่เกษตรดิน แหล่งน้ำ อากาศ ตลอดทั้งพื้นฐานของชุมชน
2. โครงการนั้นต้องมีจริยธรรม คุณธรรมในทรัพยากรธรรมชาติที่มีจำกัดอย่างมีเหตุผลรวมถึงส่งเสริมการบริโภคอุปโภคอย่างสำรวม มีขอบเขต เพื่อความอยู่ดี -- กินดี มีประโชยน์โดยรวมต่อชุมชนอย่างเป็นธรรม
3. ชุมชนต้องมีโอกาสรับรู้ แสดงความคิดเห็น เสนอแนะในหลักการ วิธีการ ปฏิบัติการ ของโครงการนั้นๆ เพื่อไม่ถูกลิดรอน เอาเปรียบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการสูญเสีย ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นสิทธิเสมอภาคของทุกๆ คน อาทิ วัตถุดิบ ที่ดิน แหล่งน้ำ อันอุดมสมบูรณ์ และอากาศที่สะอาดบริสุทธ์
อะไรเกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน์
เกิดโครงสร้างเสรีระดับโลก เรียกว่า ธุรกิจข้ามชาติ มีการบริหาร การลงทุน การผลิต และการตลาดที่ครบวงจร ในธุรกิจต่างๆ ในที่นี้ รวมถึง อุตสาหกรรมเกษตรและการเกษตรกรรมด้วยเช่น รูปแบบ
- การลงทุน (Joint Venture)
- การให้อำนาจสิทธิ หรือ เป็นตัวแทนทางการค้า (License)
- การให้สัมปทาน สิทธิพิเศษในการขายระบบในการรับสินค้า และบริการมา
- จำหน่าย (Franchise)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อควบคุมผลผลิตทางการเกษตรโดยแสวงหา แรงงาน วัตถุดิบ แสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่ สู่การแสวงหากำไรสูงสุด
2. เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ดั้งเดิมในท้องถิ่น เช่น
- การทำนาแบบเดิม มาใช้ทุน เทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อควบคุมการผลิต ไม่าว่าพันธ์พืช ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง เครื่องจักรกล การบริหารงาน
- ปฏิรูปที่ดิน เป็นการถือครองที่นาทำกินของนายทุนมาให้ชาวนากลายเป็นผู้ใช้แรงงานในภาคเกษตร และอุตสาหกรรมในเมือง
- เปลี่ยนแปลงอุปนิสัย รสนิยมในการอุปโภค บริโภค ดั้งเดิม มาเป็น ลัทธิบริโภคนิยม (Consumerism) คือ ราษฎรจะมีความต้องการอุปโภค บริโภค ในชีวิตประจำวัน ไม่มีที่สิ้นสุด ฟุ้มเฟือยขาดเหตุผลที่ไม่เหมาะสม โดยถูกกระตุ้นทางโฆษณาของบริษัทข้ามชาติผ่านสื่อต่างๆ ตลอดทั้งมีความได้เปรียบทางอำนาจผูกขาด ด้านการผลิตสินค้าและบริการ ที่ขาดสามัญสำนึก รับผิดชอบต่อสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม
อ้างเหตุผล
เป็นการเพิ่มผลผลิตทางด้านการเกษตรให้ได้คุณภาพและประสิทธิภาพ คือ สามารถผลิตอาหารได้เร็วที่สุด ถูกที่สุด และใช้แรงน้อยที่สุด
ข้อเท็จจริง
ได้อำพรางข้อมูลบางอย่างไว้ เช่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานอย่างสิ้นเปลืองฟุ่มเฟือยที่สุด ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมของสังคมโลก เช่น อากาศเป็นพิษดินและน้ำเสียและถูกทำลาย เพื่อตอบสนองธุรกิจ ขนาดใหญ่ คือ ธุรกิจการตลาด ของเครื่องจักรกล ปุ๋ย ยาและสารเคมีเท่านั้น
- คำถาม เกษตรกรมีศักยภาพที่จะดำเนินธุรกิจ หรือไม่?
- คำตอบ มีแต่ไม่ได้ถูกนำมาใช้
วิธีการ
1. เน้นการพัฒนาเกษตรกร หรือ ทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญให้มีสำนึกบนพื้นฐานการพึ่งพาตนเองโดยร่วมกันลงทุน เพื่อการผลิตและบริการ ร่วมกันซื้อ ร่วมกันขาย อย่างมีเหตุผล
2. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพภายใน (จิตใจ) และศักยภาพภายนอก (ร่างกาย) ในเชิงพุทธ มีความรับผิดชอบ การบริหารธุรกิจ การลงทุน การผลิต รูปแบบและการตลาดอย่างมีคุณธรรม และจริยธรรมใช้ปัญญา แก้ไขปัญหาด้วยเหตุและผล พิจารณารับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสม
เกษตรอุตสาหกรรมแยกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
- ข้าวและธัญพืช
- ผักและผลไม้
- ประมง
- ปศุสัตย์
หลักการว่าด้วยอุตสาหกรรมเกษตร
- การเก็บถนอมอาหาร
- การแปรรูปอาหาร
- ปลักสุขลักษณะอนามัยในการผลิตและการบริโภค
การเก็บถนอมอาหาร
คือ การรักษาคงคุณภาพตลอดทั้งช่วยยืออายุการเก็บรักษาผลผลิตจากการเกษตรให้มีความสดและดีที่สุดก่อนถึงมือผู้บริโภคหรือโรงงาน เช่น การหีบห่อบรรจุภัณฑ์ เพื่อชะลออการหายใจและการคายน้ำประเภทผัก ผลไม้ หรือวิธีการแช่แข็งประเภทผักผลไม้ เนื้อสัตว์
การแปรรูป
หมายถึง การนำผลผลิตทางการเกษตรซึ่งมีอยู่ในรูปวัตถุดิบมาผ่านขบวนการด้านวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี มาใช้ในกรรมวิธีการผลิต การแปรสภาพเพื่อสามารถบริโภค มีอายุยืนยาวขึ้นตลอดทั้งความสะดวกสบายในรูป ผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
ประเด็นปัญหาของอุตสาหกรรมเกษตร
1. การผลิตวัตถุดิบมีปัญหา
- คุณภาพประสิทธิภาพการผลิตไม่สม่ำเสมอ และเพียงพอตรงกับความต้องการหรือความนิยมของตลาด
- ราคาไม่แน่นอน
- การจัดส่งวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปไม่ตรงกำหนด
2. ขาดเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย ประสิทธิภาพและคุณภาพการผลิตต่ำ ยังไม่ได้มาตรฐานและขาดความรู้ด้านการจัดการ
3. ระบบตลาดข้อตกลง (Contract Farming) ยังไม่บรรลุผลเป็นรูปธรรมอุตสาหกรรมหรือกิจกรรมสนับสนุน ที่จำเป็นต่อการ - พัฒนาอุตสาหกรรม
- อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์
- ธุรกิจการตรวจสอบคุณภาพ
- ธุรกิจการขนส่ง
- ระบบการกระจายสินค้าและวัตถุดิบ
- การบริการข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย รวดเร็วและถูกต้อง
- การวิจัยและพัฒนา (ทำทันทีอย่าดีแต่พูด) ธุรกิจแผนใหม่ในการผลิตสินค้าใหม่ๆ เพื่อทดแทนการนำเข้าและมีลู่ทางการส่งออก
วิธีแก้ไข ลักษณะในการผลิตสินค้า
- วัตถุดิบที่ควรใช้และห้ามใช้
- กระบวนการผลิตที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม
- แรงงานที่มีความชำนาญ และจำเป็นต้องใช้
- เครื่องจักรอุปกรณ์ การผลิต ตลอดทั้งระบบการขนถ่ายสินค้าที่เหมาะสม
- การควบคุมวัตถุดิบและวิธีการแจกจ่าย
- การสต๊อกส่วนประกอบของสินค้าที่ผลิต
- การควบคุมคุณภาพและประสิทธิภาพของสินค้า เป็นไปตามมาตรฐาน หรือกฏระเบียบของสังคมโลก
การบรรจุภัณฑ์อาหาร
Food Packaging
ปัจจุบันถือเป็นขบวนการขั้นตอนหนึ่ง ที่สำคัญของการผลิต วัตถุประสงค์
1. ป้องกันสินค้าหรืออาหารปลอดภัยจากการปนเปื้อนของฝุ่นละออง จุลินทรีและแมลงต่างๆ
2. ป้องกันและรักษาอาหาร ทำปฏิกริยากับสภาพแวดล้อม เช่น ความร้อน อากาศ แสงแดด และความชื้น ให้ความสะดวกสบายในขบวนการเก็บรักษาและบริโภค สอดคล้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไป
3. ให้ความปลอดภัยในการขนส่งจากแหล่งผลิตจนถึงมือผู้บริโภค
4. เป็นกลยุทธ์ส่งเสริมการขาย ดุจนักขายเงียบ (Silence Sale Man) นอกจากจะให้รายละเอียดข้อมูล ยังสร้างภาพลักษณ์ความเชื่อถือศรัทธา เพิ่มมูลค่าตัวสินค้าหรืออาหารและที่สุดเป็นตัวเร่งให้ผู้บริโภคตัดสินใจได้เร็วขึ้น
การคัดเลือกบรรจุภัณฑ์
ควรพิจารณาถึงตลาดหรือกลุ่มเป้าหมาย ว่าใคร อยู่ที่ไหน ต้องการอะไร เมื่อไร จำนวนมากแค่ไหน อย่างไร ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจลงทุน ออกแบบได้ถูกต้องชัดเจน นอกจากนี้ ควรพิจารณาลักษณะ หรือขบวนการขั้นตอนต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างผลิต แปรรูปถนอมอาหาร หรือการเก็บรักษา การขนส่ง และอื่นๆ อาทิ
1. อาหารที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน (Thermal Processed Food)
วิธีพลาสเจอไรซ์ คือการฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิไม่สูงประมาณ 60 - 70 องศา
เซลเซียสเวลาไม่เกิน 30 นาที
วิธีการสเตอริไลเซชั่น คือการฆ่าเชื้ออุณหภูมิที่สูงประมาณ 100 - 121 องศา
เซลเซียสใช้เวลาเพียง 15 - 60 นาที (สามารถฆ่าจุนลินทรีย์ได้ทุกชนิด)
วิธี ยู เอส ที (U.H.T.) คือการฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 130 - 150 องศาเซลเซียส ใช้เวลาเพียง 2 - 3 วินาที
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-