สุกร
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกพื้นที่ จากข่าวโรคไข้หวัดนกกลับมาระบาดอีกครั้งในหลายพื้นที่ ทำให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคเนื้อสุกรกันมากขึ้น ส่วนราคาลูกสุกรยังคงปรับตัวสูงขึ้นอีกเพราะความต้องการเลี้ยงมีมากขึ้น แนวโน้มคาดว่าราคาสุกรมีชีวิตจะปรับตัวสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.09 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 46.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.37 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 47.56 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 45.23 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.44 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 49.01 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 1,300 บาท (บวกลบ 46) สูงขึ้นจากตัวละ 1,200 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 8.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ความต้องการบริโภคปรับตัวเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่มากนัก เพราะข่าวการระบาดของโรคไข้หวัดนกครั้งที่ 2 สำหรับการส่งออกไก่ต้มสุกไปญี่ปุ่นนั้น ทางญี่ปุ่นได้ส่งคณะผู้เชี่ยวชาญมายังประเทศไทยเพื่อทำงานร่วมกับกรมปศุสัตว์ในการตรวจสอบและรับรองตามขั้นตอนการควบคุมสุขอนามัย และจะพิจารณาให้มีการนำเข้าไก่ต้มสุกจากไทยภายในเดือนกุมภาพันธ์ นี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 18.92 บาท ลดลงโลกรัมละ 19.41 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.52 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 19.78 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 18.49 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 17.58 บาท และภาคเหนือ ไม่มีรายงานราคา ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 10.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 15.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สดไม่มีรายงานราคา
ไข่ไก่
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากข่าวการระบาดของโรคไข้หวัดนกรอบที่ 2 ทำให้ความต้องการบริโภคหยุดชะงัก ส่งผลให้ปริมาณไข่ไก่มีสต๊อกเพิ่มขึ้น แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือปรับตัวเพิ่มขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 150 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 149 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.67 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 168 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 163 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 149 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 137 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 22.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 155 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 175 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 11.43
ไข่เป็ด
1. ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 176 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 178 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 129 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 180 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 193 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 193 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 285 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 50.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 50.30 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.72 โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 41.09 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 57.43 บาท ภาคใต้กิโลกรัมละ 43.38 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 37.11 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.73 บาท สำหรับภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 8 ประจำวันที่ 23-29 กุมภาพันธุ์ 2547--จบ--
-พห-
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกพื้นที่ จากข่าวโรคไข้หวัดนกกลับมาระบาดอีกครั้งในหลายพื้นที่ ทำให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคเนื้อสุกรกันมากขึ้น ส่วนราคาลูกสุกรยังคงปรับตัวสูงขึ้นอีกเพราะความต้องการเลี้ยงมีมากขึ้น แนวโน้มคาดว่าราคาสุกรมีชีวิตจะปรับตัวสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.09 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 46.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.37 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 47.56 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 45.23 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.44 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 49.01 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 1,300 บาท (บวกลบ 46) สูงขึ้นจากตัวละ 1,200 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 8.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ความต้องการบริโภคปรับตัวเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่มากนัก เพราะข่าวการระบาดของโรคไข้หวัดนกครั้งที่ 2 สำหรับการส่งออกไก่ต้มสุกไปญี่ปุ่นนั้น ทางญี่ปุ่นได้ส่งคณะผู้เชี่ยวชาญมายังประเทศไทยเพื่อทำงานร่วมกับกรมปศุสัตว์ในการตรวจสอบและรับรองตามขั้นตอนการควบคุมสุขอนามัย และจะพิจารณาให้มีการนำเข้าไก่ต้มสุกจากไทยภายในเดือนกุมภาพันธ์ นี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 18.92 บาท ลดลงโลกรัมละ 19.41 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.52 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 19.78 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 18.49 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 17.58 บาท และภาคเหนือ ไม่มีรายงานราคา ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 10.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 15.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สดไม่มีรายงานราคา
ไข่ไก่
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากข่าวการระบาดของโรคไข้หวัดนกรอบที่ 2 ทำให้ความต้องการบริโภคหยุดชะงัก ส่งผลให้ปริมาณไข่ไก่มีสต๊อกเพิ่มขึ้น แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือปรับตัวเพิ่มขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 150 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 149 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.67 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 168 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 163 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 149 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 137 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 22.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 155 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 175 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 11.43
ไข่เป็ด
1. ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 176 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 178 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 129 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 180 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 193 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 193 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 285 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 50.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 50.30 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.72 โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 41.09 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 57.43 บาท ภาคใต้กิโลกรัมละ 43.38 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 37.11 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.73 บาท สำหรับภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 8 ประจำวันที่ 23-29 กุมภาพันธุ์ 2547--จบ--
-พห-