บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔
ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบ
วาระการประชุม โดยขอนำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๓, ๑๔ และ ๑๕
ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระ
ตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๑๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติ
ไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคล
ที่จะประกอบเป็นกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน
ประกอบด้วย
๑. นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ๒. นายภาคิน สมมิตร
๓. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๔. นายวิจิตร สุพินิจ
๕. นายกมล บันไดเพชร ๖. นายไพศาล พืชมงคล
๗. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๘. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๙. นายสาธิต อุไรเวโรจนากร ๑๐. นายเชน เทือกสุบรรณ
๑๑. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์ ๑๒. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติสถาบัน
เทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๔)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติ
ไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคล
ที่จะประกอบเป็นกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน
ประกอบด้วย
๑. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์ ๒. นายพายัพ ปั้นเกตุ
๓. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ๔. นายนพคุณ รัฐผไท
๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๖. นายประแสง มงคลศิริ
๗. นายศุภชัย โพธิ์สุ ๘. นายเทวัญ ลิปตพัลลภ
๙. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๑๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๑๑. นายบุญส่ง ไข่เกษ ๑๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๕)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติ
ไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคล
ที่จะประกอบเป็นกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน
ประกอบด้วย
๑. หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล ๒. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์
๓. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๕. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๗. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๘. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๙. นายเจริญ คันธวงศ์ ๑๐. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๑. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๑๒. นายประวิช รัตนเพียร
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘, ๑๖, ๑๗, ๒๐ และ ๑๒ ขึ้นมาพิจารณาก่อน
ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระ
ตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๓ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
พ.ศ. …. ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ และนายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๙)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายการยุติธรรมแห่งชาติ
พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุทัศน์ เงินหมื่น กับคณะ เป็นผู้เสนอ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระที่ ๕.๕๑)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติการวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรม
พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุทัศน์ เงินหมื่น กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๕๐)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกัน
ดำเนินการประชุม ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการ
แห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลัก
ในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ๒. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๓. นายวัลลภ นาคบัว ๔. นายสุรพล เอกโยคยะ
๕. นายอัชพร จารุจินดา ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ ๘. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์
๙. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๑๐. นายลิขิต หมู่ดี
๑๑. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๒. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์
๑๓. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ ๑๔. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๕. นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ ๑๖. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๑๗. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ ๑๘. นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
๑๙. นายประสิทธิ์ จันทาทอง ๒๐. นายศุภชัย ใจสมุทร
๒๑. นายปกิต พัฒนกุล ๒๒. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๒๓. นายชัยพร ธนถาวรลาภ ๒๔. นายนคร มาฉิม
๒๕. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๒๖. นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
๒๗. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล ๒๘. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๙. นายสราวุธ เบญจกุล ๓๐. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๓๑. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๓๒. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๓. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๓๔. นายสุภาพ คลี่ขจาย
๓๕. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านนิติวิทยาศาสตร์
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๖)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานการปฏิบัติงานด้าน
นิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุทัศน์ เงินหมื่น กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๕)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ยุติธรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายมานิตย์ สุธาพร ๒. พลตำรวจตรี ชุมศักดิ์ พฤกษาพงษ์
๓. คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ ๔. นางสาวนริศรา แดงไผ่
๕. นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา ๖. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ
๙. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา ๑๐. นายประแสง มงคลศิริ
๑๑. นายพรชัย อรรถปรียางกูร ๑๒. นายอิทธิเดช แก้วหลวง
๑๓. นายชลน่าน ศรีแก้ว ๑๔. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร
๑๕. นายสุชาย ศรีสุรพล ๑๖. นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท
๑๗. นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ๑๘. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๑๙. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๒๐. นายธงชาติ รัตนวิชา
๒๑. นายปกิต พัฒนกุล ๒๒. พลตำรวจตรี เอก อังสนานนท์
๒๓. ร้อยโท ธนพจน เอกโยคยะ ๒๔. นายอุทัย สุดสุข
๒๕. นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ๒๖. นายวิฑูรย์ อึ้งประพันธ์
๒๗. นายวิสูตร ฟองศิริไพบูลย์ ๒๘. นายสราวุธ เบญจกุล
๒๙. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๓๐. นายวิทยา แก้วภราดัย
๓๑. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๓๒. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๓๓. นายปิลันธน์ จิตต์ธรรม ๓๔. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๓๕. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๑๐ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภา
แก้ไขเพิ่มเติม ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (๓) จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรี
และสมาชิกฯ เสนอรวม ๔ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
******************************
ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบ
วาระการประชุม โดยขอนำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๓, ๑๔ และ ๑๕
ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระ
ตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระ
เรื่องด่วนที่ ๑๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติ
ไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคล
ที่จะประกอบเป็นกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน
ประกอบด้วย
๑. นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ๒. นายภาคิน สมมิตร
๓. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๔. นายวิจิตร สุพินิจ
๕. นายกมล บันไดเพชร ๖. นายไพศาล พืชมงคล
๗. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๘. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๙. นายสาธิต อุไรเวโรจนากร ๑๐. นายเชน เทือกสุบรรณ
๑๑. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์ ๑๒. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติสถาบัน
เทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๔)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติ
ไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคล
ที่จะประกอบเป็นกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน
ประกอบด้วย
๑. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์ ๒. นายพายัพ ปั้นเกตุ
๓. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ๔. นายนพคุณ รัฐผไท
๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๖. นายประแสง มงคลศิริ
๗. นายศุภชัย โพธิ์สุ ๘. นายเทวัญ ลิปตพัลลภ
๙. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๑๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๑๑. นายบุญส่ง ไข่เกษ ๑๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๕)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติ
ไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคล
ที่จะประกอบเป็นกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน
ประกอบด้วย
๑. หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล ๒. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์
๓. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๕. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๗. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๘. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๙. นายเจริญ คันธวงศ์ ๑๐. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๑. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๑๒. นายประวิช รัตนเพียร
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘, ๑๖, ๑๗, ๒๐ และ ๑๒ ขึ้นมาพิจารณาก่อน
ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระ
ตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๘)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๓ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
พ.ศ. …. ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ และนายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๙)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายการยุติธรรมแห่งชาติ
พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุทัศน์ เงินหมื่น กับคณะ เป็นผู้เสนอ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระที่ ๕.๕๑)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติการวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรม
พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุทัศน์ เงินหมื่น กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๕๐)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกัน
ดำเนินการประชุม ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการ
แห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลัก
ในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ๒. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๓. นายวัลลภ นาคบัว ๔. นายสุรพล เอกโยคยะ
๕. นายอัชพร จารุจินดา ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ ๘. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์
๙. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๑๐. นายลิขิต หมู่ดี
๑๑. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๒. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์
๑๓. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ ๑๔. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๕. นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ ๑๖. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๑๗. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ ๑๘. นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
๑๙. นายประสิทธิ์ จันทาทอง ๒๐. นายศุภชัย ใจสมุทร
๒๑. นายปกิต พัฒนกุล ๒๒. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๒๓. นายชัยพร ธนถาวรลาภ ๒๔. นายนคร มาฉิม
๒๕. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๒๖. นายวิรัตน์ กัลยาศิริ
๒๗. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล ๒๘. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๙. นายสราวุธ เบญจกุล ๓๐. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๓๑. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๓๒. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๓. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๓๔. นายสุภาพ คลี่ขจาย
๓๕. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านนิติวิทยาศาสตร์
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๖)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานการปฏิบัติงานด้าน
นิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุทัศน์ เงินหมื่น กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๕)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผลตามลำดับ ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ยุติธรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายมานิตย์ สุธาพร ๒. พลตำรวจตรี ชุมศักดิ์ พฤกษาพงษ์
๓. คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ ๔. นางสาวนริศรา แดงไผ่
๕. นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา ๖. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ
๙. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา ๑๐. นายประแสง มงคลศิริ
๑๑. นายพรชัย อรรถปรียางกูร ๑๒. นายอิทธิเดช แก้วหลวง
๑๓. นายชลน่าน ศรีแก้ว ๑๔. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร
๑๕. นายสุชาย ศรีสุรพล ๑๖. นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท
๑๗. นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ๑๘. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๑๙. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๒๐. นายธงชาติ รัตนวิชา
๒๑. นายปกิต พัฒนกุล ๒๒. พลตำรวจตรี เอก อังสนานนท์
๒๓. ร้อยโท ธนพจน เอกโยคยะ ๒๔. นายอุทัย สุดสุข
๒๕. นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ๒๖. นายวิฑูรย์ อึ้งประพันธ์
๒๗. นายวิสูตร ฟองศิริไพบูลย์ ๒๘. นายสราวุธ เบญจกุล
๒๙. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๓๐. นายวิทยา แก้วภราดัย
๓๑. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๓๒. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๓๓. นายปิลันธน์ จิตต์ธรรม ๓๔. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๓๕. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๑๐ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภา
แก้ไขเพิ่มเติม ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (๓) จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรี
และสมาชิกฯ เสนอรวม ๔ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
******************************