บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔
ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๒๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม
จากนั้น ได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันอังคารที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๗ ได้ลงมติให้ขยายเวลา
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจ
ชุมชน พ.ศ. …. ออกไปเป็นกรณีพิเศษอีก ๓๐ วัน นับแต่วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๔๗ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๔
๒. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันอังคารที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๗ ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับ
ร่างพระราชบัญญัติเครื่องแบบกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. …. ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบแล้ว
๓. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) เป็นพิเศษ วันศุกร์ที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
๔. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณาให้คำรับรอง จำนวน ๑ ฉบับ
คือ ร่างพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำเรื่อง พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๓) ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบ
ด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
กรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๔ คน และ
ตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน ประกอบด้วย
๑. นายวิษณุ เครืองาม ๒. นายโสภณ เพชรสว่าง
๓. นายปกิต พัฒนกุล ๔. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๕. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ ๖. พลตำรวจโท อุดม เจริญ
๗. นายสนิท ศรีสำแดง ๘. คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช
๙. นายสุวโรช พะลัง ๑๐. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๒. นายธนกร นันที
ต่อมา ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน
ตามมติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๗ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อน
ขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๑) โดยรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติ
หน้าที่แทน และที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๓ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นางพรพิชญ์ พึ่งธรรมเดช พัฒนกุลเลิศ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๖)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ และนายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๑๔)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายโสภณ ซารัมย์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๒๕)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ
มีสมาชิกฯ อภิปรายจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับ พร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายพิศาล สร้อยธุหร่ำ ๒. นายธงชัย ชิวปรีชา
๓. นายกฤษณพงศ์ กีรติกร ๔. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๕. นายทวีสิน หิรัญวัฒน์ศิริ ๖. นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง
๙. นายประเสริฐ เด่นนภาลัย ๑๐. นายประชา ประสพดี
๑๑. นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน ๑๒. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
๑๓. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๑๔. นายเกษม อุประ
๑๕. นายประดุจ มั่นหมาย ๑๖. นายทองดี มนิสสาร
๑๗. นายสงกรานต์ คำพิไสย์ ๑๘. นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์
๑๙. นายเสรี สาระนันท์ ๒๐. ศาสตราจารย์อมเรศ ภูมิรัตน
๒๑. เรืออากาศโท อุดม ประสิทธิ์ ๒๒. นายพงษ์เทพ บุญศรีโรจน์
๒๓. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี ๒๔. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
๒๕. นางผุสดี ตามไท ๒๖. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๒๗. นายสืบแสง พรหมบุญ ๒๘. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๒๙. นายกัมพล สุภาแพ่ง ๓๐. นางพรพิชญ์ พึ่งธรรมเดช พัฒนกุลเลิศ
๓๑. นายปรีชา มุสิกุล ๓๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๓๓. นางผ่องศรี แซ่จึง ๓๔. นายอมรเทพ สมหมาย
๓๕. นายวาชิต รัตนเพียร
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้แถลงหลักการและเหตุผล
โดยมีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุธรรม แสงประทุม ๒. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๓. นายกฤษณพงศ์ กีรติกร ๔. นายวิรัช คารวะพิทยากุล
๕. นายโอภาส เขียววิชัย ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา ๘. นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
๙. นายอารักษ์ ไชยริปู ๑๐. นางสาวจงจิตร อริยประยูร
๑๑. นางมยุรา มนะสิการ ๑๒. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
๑๓. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ ๑๔. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๕. นายนิสิต สินธุไพร ๑๖. นายกิตติ สมทรัพย์
๑๗. นายขจรธน จุดโต ๑๘. นายเอกธนัช อินทร์รอด
๑๙. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๒๐. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๑. นายณรงค์ศักดิ์ วงศ์สังวาลย์ ๒๒. นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
๒๓. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี ๒๔. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์
๒๕. นางคมคาย พลบุตร ๒๖. นายสาธิต ปิตุเตชะ
๒๗. นายธีระ สลักเพชร ๒๘. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๒๙. นายประมวล เอมเปีย ๓๐. รองศาสตราจารย์บัญญัติ สุขศรีงาม
๓๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๓๒. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๓๓. รองศาสตราจารย์เชาวน์ มณีวงศ์ ๓๔. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
๓๕. นายสมภพ โรจนพันธ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓) โดย
ที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๕ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณา
รวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายประกอบ
รัตนพันธ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๓๘)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๓๙)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายพงษ์พิช รุ่งเป้า และนายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๐)
(๔) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา และพันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๑)
(๕) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ และนายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ โดยมีสมาชิกฯ อภิปรายจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้
ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๖ ฉบับ พร้อมกันไป และมี
มติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุธรรม แสงประทุม ๒. นายวีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ
๓. นายจิตรนรา นวรัตน์ ๔. รองศาสตราจารย์ชนะ กสิภาร์
๕. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
๙. นายสถาพร มณีรัตน์ ๑๐. นายพายัพ ปั้นเกตุ
๑๑. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๑๒. นายวิทยา ทรงคำ
๑๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๔. นายโสภณ เพชรสว่าง
๑๕. นายนิสิต สินธุไพร ๑๖. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๗. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๑๘. นางบุญรื่น ศรีธเรศ
๑๙. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๒๐. พลตำรวจเอก ดรุณ โสตถิพันธ์
๒๑. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ ๒๒. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๒๓. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๔. นายตรีพล เจาะจิตต์
๒๕. นายประกอบ รัตนพันธ์ ๒๖. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๒๗. นายสนั่น สุธากุล ๒๘. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๒๙. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ๓๐. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๓๑. นายโกวิทย์ ธารณา ๓๒. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๓. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๓๔. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๓๕. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๒๕ นาฬิกา
(นายทวี พวงทะวาย)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รักษาราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ตั้งกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๔ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอ
รวม ๖ ฉบับ)
***********************************
ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๒๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม
จากนั้น ได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันอังคารที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๗ ได้ลงมติให้ขยายเวลา
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจ
ชุมชน พ.ศ. …. ออกไปเป็นกรณีพิเศษอีก ๓๐ วัน นับแต่วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๔๗ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๔
๒. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันอังคารที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๗ ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับ
ร่างพระราชบัญญัติเครื่องแบบกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. …. ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบแล้ว
๓. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) เป็นพิเศษ วันศุกร์ที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
๔. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณาให้คำรับรอง จำนวน ๑ ฉบับ
คือ ร่างพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำเรื่อง พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๓) ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบ
ด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
กรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๔ คน และ
ตั้งกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน ประกอบด้วย
๑. นายวิษณุ เครืองาม ๒. นายโสภณ เพชรสว่าง
๓. นายปกิต พัฒนกุล ๔. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๕. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ ๖. พลตำรวจโท อุดม เจริญ
๗. นายสนิท ศรีสำแดง ๘. คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช
๙. นายสุวโรช พะลัง ๑๐. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๒. นายธนกร นันที
ต่อมา ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน
ตามมติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๗ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อน
ขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๑) โดยรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติ
หน้าที่แทน และที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๓ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นางพรพิชญ์ พึ่งธรรมเดช พัฒนกุลเลิศ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๖)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ และนายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๑๔)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายโสภณ ซารัมย์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๒๕)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ
มีสมาชิกฯ อภิปรายจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับ พร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายพิศาล สร้อยธุหร่ำ ๒. นายธงชัย ชิวปรีชา
๓. นายกฤษณพงศ์ กีรติกร ๔. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๕. นายทวีสิน หิรัญวัฒน์ศิริ ๖. นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง
๙. นายประเสริฐ เด่นนภาลัย ๑๐. นายประชา ประสพดี
๑๑. นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน ๑๒. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
๑๓. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๑๔. นายเกษม อุประ
๑๕. นายประดุจ มั่นหมาย ๑๖. นายทองดี มนิสสาร
๑๗. นายสงกรานต์ คำพิไสย์ ๑๘. นายพีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์
๑๙. นายเสรี สาระนันท์ ๒๐. ศาสตราจารย์อมเรศ ภูมิรัตน
๒๑. เรืออากาศโท อุดม ประสิทธิ์ ๒๒. นายพงษ์เทพ บุญศรีโรจน์
๒๓. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี ๒๔. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
๒๕. นางผุสดี ตามไท ๒๖. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๒๗. นายสืบแสง พรหมบุญ ๒๘. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๒๙. นายกัมพล สุภาแพ่ง ๓๐. นางพรพิชญ์ พึ่งธรรมเดช พัฒนกุลเลิศ
๓๑. นายปรีชา มุสิกุล ๓๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๓๓. นางผ่องศรี แซ่จึง ๓๔. นายอมรเทพ สมหมาย
๓๕. นายวาชิต รัตนเพียร
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้แถลงหลักการและเหตุผล
โดยมีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุธรรม แสงประทุม ๒. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๓. นายกฤษณพงศ์ กีรติกร ๔. นายวิรัช คารวะพิทยากุล
๕. นายโอภาส เขียววิชัย ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา ๘. นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
๙. นายอารักษ์ ไชยริปู ๑๐. นางสาวจงจิตร อริยประยูร
๑๑. นางมยุรา มนะสิการ ๑๒. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
๑๓. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ ๑๔. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๕. นายนิสิต สินธุไพร ๑๖. นายกิตติ สมทรัพย์
๑๗. นายขจรธน จุดโต ๑๘. นายเอกธนัช อินทร์รอด
๑๙. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๒๐. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๑. นายณรงค์ศักดิ์ วงศ์สังวาลย์ ๒๒. นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
๒๓. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี ๒๔. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์
๒๕. นางคมคาย พลบุตร ๒๖. นายสาธิต ปิตุเตชะ
๒๗. นายธีระ สลักเพชร ๒๘. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๒๙. นายประมวล เอมเปีย ๓๐. รองศาสตราจารย์บัญญัติ สุขศรีงาม
๓๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๓๒. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๓๓. รองศาสตราจารย์เชาวน์ มณีวงศ์ ๓๔. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
๓๕. นายสมภพ โรจนพันธ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓) โดย
ที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๕ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณา
รวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายประกอบ
รัตนพันธ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๓๘)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๓๙)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายพงษ์พิช รุ่งเป้า และนายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๐)
(๔) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา และพันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๑)
(๕) ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ และนายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ โดยมีสมาชิกฯ อภิปรายจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้
ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๖ ฉบับ พร้อมกันไป และมี
มติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุธรรม แสงประทุม ๒. นายวีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ
๓. นายจิตรนรา นวรัตน์ ๔. รองศาสตราจารย์ชนะ กสิภาร์
๕. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
๙. นายสถาพร มณีรัตน์ ๑๐. นายพายัพ ปั้นเกตุ
๑๑. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๑๒. นายวิทยา ทรงคำ
๑๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๔. นายโสภณ เพชรสว่าง
๑๕. นายนิสิต สินธุไพร ๑๖. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๗. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๑๘. นางบุญรื่น ศรีธเรศ
๑๙. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๒๐. พลตำรวจเอก ดรุณ โสตถิพันธ์
๒๑. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ ๒๒. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๒๓. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๔. นายตรีพล เจาะจิตต์
๒๕. นายประกอบ รัตนพันธ์ ๒๖. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๒๗. นายสนั่น สุธากุล ๒๘. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๒๙. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ๓๐. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๓๑. นายโกวิทย์ ธารณา ๓๒. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๓. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๓๔. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๓๕. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๒๕ นาฬิกา
(นายทวี พวงทะวาย)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รักษาราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ตั้งกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๔ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอ
รวม ๖ ฉบับ)
***********************************