ภาวะการเงินและการดำเนินงานของสถาบันการเงิน
ภาวะการเงิน
ปี 2546 เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือปรับตัวสูงขึ้นแม้ว่าในช่วง 9 เดือนของปี2546จะมีเงินฝากลดลงก็ตาม
ทั้งนี้จากปัจจัยการถอนเงินฝากส่วนหนึ่งไปลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ช่วยชาติช่วงปลายปีก่อน และเมื่อผลของปัจจัยดังกล่าวหมดลงตลอดจน
การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ ทำให้เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 เทียบกับที่ลดลงร้อยละ 2.8 ปีก่อน ขณะที่สินเชื่อ
ขยายตัวต่อเนื่องโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ10.1 เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 ระยะเดียวกันปีก่อนตามการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ และการ
ขยายการให้สินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ส่งผลให้สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ระดับร้อยละ 70.6 เทียบกับร้อยละ 65.7
ระยะเดียวกันปีก่อน
สำหรับภาวะการเงินของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่สำคัญมีดังนี้ สาขาธนาคารออมสินในภาคเหนือ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 เร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 ระยะเดียวกันปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเร่งตัวขึ้นโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 72.3 เทียบกับ
ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.2 ระยะเดียวกันปีก่อน สาขาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือมีเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ11.7
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 ระยะเดียวกันปีก่อนและมีสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.4 ระยะเดียว
กันปีก่อนบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ มียอดคงค้างสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ
14.3 ระยะเดียวกันปีก่อน
ยอดคงค้างเงินฝากและสินเชื่อของสถาบันการเงินในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
จำนวน % การเปลี่ยนแปลง
2544 2545 2546 2545 2546
เงินฝาก
ธนาคารพาณิชย์ 481 284,115.0 276,230.8 283,025.0 P -2.8 2.5
ธนาคารออมสิน 1/ 118 42,097.0 42,764.6 44,542.0 1.6 4.2
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 2/ 129 39,690.7 45,011.6 50,291.8 13.4 11.7
สินเชื่อ
ธนาคารพาณิชย์ 481 164,030.2 181,504.6 199,914.0 P 10.7 10.1
ธนาคารออมสิน 3/ 118 13,694.5 18,513.8 31,896.0 35.2 72.3
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 2/ 129 65,196.9 69,366.7 74,710.2 6.4 7.7
บรรษัทอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 4/ 8 9,230.1 10,546.5 11,040.4 14.3 4.7
หมายเหตุ : P ตัวเลขเบื้องต้น
ที่มา : 1/ ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ 2/ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
3/ ธนาคารออมสินภาค 5 และภาค 7 4/ บรรษัทอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ
การดำเนินงานของสถาบันการเงิน
ธนาคารพาณิชย์
ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546 มีสาขาธนาคารพาณิชย์เปิดดำเนินการทั้งสิ้น 481 สาขาแยกเป็นภาคเหนือตอนบน 286 สาขา
และภาคเหนือตอนล่าง 195 สาขาโดยแยกเป็นเขตอำเภอเมือง 265 สาขาและเขตอำเภอรอบนอก 216 สาขาโดยมีสาขา
ธนาคารพาณิชย์ที่เปิดดำเนินการใหม่ทั้งสิ้น 8 สาขา ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน) สาขาย่อยบิ๊กซี นครสวรรค์ และสาขาย่อย
บิ๊กซี พิษณุโลก ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาพิษณุโลกดารุ้ลยากีน และสาขาลำปางดารุ้ลอิคลาสธนาคารนครหลวงไทย จำกัด(มหาชน)
สาขาสุโขทัย สาขาอุตรดิตถ์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาย่อยนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ (ลำพูน)
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขาย่อยสถาบันราชภัฏลำปาง ขณะที่มีสาขาธนาคารพาณิชย์ปิดดำเนินการทั้งสิ้น 5 สาขา
เงินฝาก
ปี 2546 เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือปรับตัวสูงขึ้นแม้ว่าในช่วง 9 เดือนของปี2546จะมีเงินฝากลดลงก็ตาม
ทั้งนี้เป็นผลจากปัจจัยที่มีการถอนเงินฝากส่วนหนึ่งไปลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ช่วยชาติช่วงปลายปีก่อน และผลของปัจจัยดังกล่าวหมดลง
ตลอดจนการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจทำให้เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 เป็น 283,025.0 ล้านบาทเทียบกับที่
ลดลงร้อยละ 2.8 เหลือ 276,230.8 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อน ทั้งนี้สามารถจำแนกตามประเภทของเงินฝากได้ดังนี้ เงินฝาก
กระแสรายวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.5 เป็น 6,630.0 ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 ระยะเดียวกันปีก่อนออมทรัพย์เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 21.3 เป็น 129,085.0ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.9 เป็น 106,453.3 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อน ขณะที่
เงินฝากประจำลดลงต่อเนื่องจากปีก่อน โดยลดลงร้อยละ 10.5 เหลือ 147,310.0 ล้านบาท เทียบกับที่ลดลงร้อยละ 11.8 เหลือ
164,537.0 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อน
เมื่อพิจารณาเป็นรายอนุภาค เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ในเขตภาคเหนือตอนบนเพิ่มขึ้นร้อยละ2.9 เป็น
171,855.0 ล้านบาทเทียบกับที่ลดลงร้อยละ 2.8 เหลือ 166,941.1 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อนเพิ่มขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่
ลำปาง ตาก และน่าน ส่วนภาคเหนือตอนล่างเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 เป็น 111,170.0 ล้านบาท เทียบกับลดลงร้อยละ 2.7
เหลือ 109,289.7 ล้านบาท เงินฝากเพิ่มขึ้นมากในจังหวัดพิษณุโลก นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และกำแพงเพชร
ปริมาณเงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์
(หน่วย : ล้านบาท)
ยอดคงค้างเงินฝาก
ประเภทเงินฝาก 2544 2545 2546
กระแสรายวัน 4,960.1 5,240.6 6,630.0
(20.9) (5.7) (26.5)
ออมทรัพย์ 92,649.4 106,453.3 129,085.0
(21.6) (14.9) (21.3)
ประจำ 186,505.5 164,537.0 147,310.0
(-2.5) (-11.8) (-10.5)
รวม 284,115.0 276,230.8 283,025.0
(4.6) (-2.8) (2.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน P ตัวเลขเบื้องต้น
ยอดคงค้างของปริมาณเงินฝากที่สาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
2544 2545 2546 P
อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม
ภาคเหนือตอนบน 121,730.9 50,103.2 171,834.1 118,553.5 48,387.7 166,941.1 122,032.0 49,823.0 171,855.0
(4.3) (2.6) (3.8) (-2.6) (-3.4) (-2.8) (2.9) (3.0) (2.9)
ภาคเหนือตอนล่าง 69,090.4 43,190.5 112,280.9 67,609.2 41,680.5 109,289.7 69,530.0 41,640.0 111,170.0
(5.9) (5.7) (5.8) (-2.1) (-3.5) (-2.7) (2.8) (-0.1) (1.7)
รวม 190,821.3 93,293.7 284,115.0 186,162.7 90,068.1 276,230.8 191,562.0 91,463.0 283,025.0
(4.9) (4.0) (4.6) (-2.4) (-3.5) (-2.8) (2.9) (1.5) (2.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน P ตัวเลขเบื้องต้น
สินเชื่อ
ปี 2546 สินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือขยายตัวต่อเนื่องโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 เป็น199,914.0 ล้านบาท
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 เป็น 181,504.6 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อนตามการฟื้นของสาขาธนาคารพาณิชย์แก่ภาคธุรกิจสำคัญ
นอกจากนี้อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่ำจูงใจให้มีการขอสินเชื่อทั้งในส่วนของประชาชนทั่วไปและผู้ประกอบการเพิ่มขึ้นส่งผลให้สัดส่วน
สินเชื่อต่อเงินฝากปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ระดับร้อยละ70.6เทียบกับร้อยละ 65.7 ระยะเดียวกันปีก่อนโดยสินเชื่อประเภทเบิกเกินบัญชีเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 1.0 เป็น55,472.0 ล้านบาทชะลอลงเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.1 เป็น 54,910.0 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อน
สินเชื่อประเภทเงินให้กู้และอื่นๆเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เป็น 111,050.0 ล้านบาทเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 เป็น 106,068.0 ล้านบาท
ระยะเดียวกันปีก่อนและสินเชื่อประเภทตั๋วเงินเพิ่มขึ้นร้อยละ 62.7 เป็น 33,392.0 ล้านบาทเร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.8
เป็น 20,526.6 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อน
เมื่อพิจารณาเป็นรายอนุภาคสินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ในเขตภาคเหนือตอนบนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 เป็น 124,324.0 ล้านบาท
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.9 เป็น 116,129.2 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อนเพิ่มขึ้นมากในจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง และเชียงราย
ส่วนภาคเหนือตอนล่างสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.6 เป็น 75,590.0 ล้านบาท เร่งตัวขึ้นเมื่อเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 เป็น
65,375.5 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อนและเพิ่มขึ้นมากในจังหวัดนครสวรรค์พิจิตรและพิษณุโลก
เมื่อพิจารณาสินเชื่อแยกตามประเภทธุรกรรมพบว่าปี 2546 ประเภทของสินเชื่อที่ขยายตัวสูงได้แก่สินเชื่อเพื่อการพาณิชย์สินเชื่อ
เพื่อการอุปโภคบริโภคสินเชื่อเพื่อการอุตสาหกรรมและสินเชื่อเพื่อการธนาคารและธุรกิจการเงิน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ใน
ระดับต่ำการแข่งขันของสาขาธนาคารพาณิชย์ตลอดจนการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องส่วนใหญ่เป็นการขยายตัวในจังหวัด
ที่เป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนของภาค ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ นครสวรรค์ และพิษณุโลก
ปริมาณสินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์
(หน่วย : ล้านบาท)
ยอดคงค้างสินเชื่อ
P
ประเภทสินเชื่อ 2544 2545 2546
เบิกเกินบัญชี 51,748.6 54,910.0 55,472.0
(-10.8) (6.1) (1.0)
เงินให้กู้และอื่นๆ 96,089.9 106,068.0 111,050.0
(-6.7) (10.4) (4.7)
ตั๋วเงิน 16,191.8 20,526.6 33,392.0
(1.7) (26.8) (62.7)
รวม 164,030.2 181,504.6 199,914.0
(-7.3) (10.7) (10.1)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
P ตัวเลขเบื้องต้น
ยอดคงค้างปริมาณสินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
P
2544 2545 2546
อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม
ภาคเหนือตอนบน 77,005.0 27,707.1 104,712.0 87,358.7 28,770.5 116,129.2 94,983.0 29,341.0 124,324.0
(-6.1) (-2.5) (-5.2) (13.4) (3.8) (10.9) (8.7) (2.0) (7.1)
ภาคเหนือตอนล่าง 37,899.7 21,418.5 59,318.2 42,900.6 22,474.8 65,375.5 49,319.0 26,271.0 75,590.0
(-10.5) (-11.0) (-10.7) (13.2) (4.9) (10.2) (15.0) (16.9) (15.6)
รวม 114,904.7 49,125.6 164,030.2 130,259.4 51,245.3 181,504.6 144,302.0 55,612.0 199,914.0
(-7.6) (-6.4) (-7.3) (13.4) (4.3) (10.7) (10.8) (8.5) (10.1)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน P ตัวเลขเบื้องต้น
อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์
ปี 2546 อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์ยังคงปรับลดลงต่อเนื่องจากปีก่อนซึ่งเป็นการปรับตัวตามทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ
ธนาคารแห่งประเทศไทย และเพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารสภาพคล่องของแต่ละธนาคารเป็นสำคัญโดยอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์
ขนาดใหญ่ 4 แห่ง ประเภทฝากประจำระยะ3 เดือน ลดลงจากร้อยละ 1.75 ต่อปี ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2545 เหลือร้อยละ 1.00 ต่อปี
ประเภทเงินฝากประจำ12 เดือน ลดลงจากร้อยละ 2.00 ต่อปี เหลือร้อยละ 1.00 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ย MLR ลดลงจากร้อยละ 6.69
ต่อปี เหลือร้อยละ 5.69 ต่อปี
การดำเนินงานของสำนักหักบัญชี
ปี 2546 ปริมาณการใช้เช็คผ่านสำนักหักบัญชีทั้ง 16 แห่งในภาคเหนือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 เป็น 4,751,997 ฉบับเทียบกับเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 5.0 เป็น 4,618,345 ฉบับ ปีก่อนและมีมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0 เป็น354,211 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2 เป็น
331,084 ล้านบาทปีก่อนสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่กระเตื้องขึ้นสำหรับปริมาณเช็คคืนลดลง 3.5 เหลือ 129,808 ฉบับเทียบกับที่ลดลง
ร้อยละ 6.1 เหลือ 134,571ฉบับ และมูลค่าลดลงร้อยละ 5.5 เหลือ 7,289 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 6.1 เหลือ 7,715 ล้านบาท
ปีก่อนส่งผลให้สัดส่วนปริมาณเช็คคืนต่อเช็คเรียกเก็บลดลงจากร้อยละ 2.9 ปีก่อนเหลือร้อยละ 2.7 และมูลค่าเช็คคืนต่อเช็คเรียกเก็บลดลง
จากร้อยละ 2.3 ปีก่อนเหลือร้อยละ 2.1 ทั้งนี้ในปีที่ผ่านมาการใช้เช็คเพิ่มขึ้นมากที่สำนักหักบัญชีจังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์
ลำปาง และเชียงราย สำหรับเช็คคืนลดลงมากที่สำนักหักบัญชี จังหวัดพิจิตร พะเยา ตาก และนครสวรรค์
การดำเนินงานของสำนักหักบัญชี
ปี เช็คเรียกเก็บ (1) เช็คคืน (2) ร้อยละ (2)/(1)
จำนวนเช็ค จำนวนเงิน จำนวนเช็ค จำนวนเงิน จำนวนเช็ค จำนวนเงิน
(ฉบับ) (ล้านบาท) (ฉบับ) (ล้านบาท)
2544 4,397,710 292,491 143,316 8,214 3.3 2.8
(144.1) (147.0) (127.2) (118.0)
2545 4,618,345 331,084 134,571 7,715 2.9 2.3
(5.0) (13.2) (-6.1) (-6.1)
2546 4,751,997 354,211 129,808 7,289 2.7 2.1
(2.9) (7.0) (-3.5) (-5.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
ธนาคารออมสิน
ปี 2546 สาขาธนาคารออมสินในภาคเหนือมียอดคงค้างเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 เป็น 44,542.0 ล้านบาทเร่งตัวขึ้น
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 เป็น 42,764.6 ล้านบาท ปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของเงินฝากตามโครงการธนาคาร
ประชาชนโดยเงินฝากประเภทเพื่อเรียกเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3เป็น 21,303.0 ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ8.3เป็น
18,969.0 ล้านบาท ปีก่อนเงินฝากประเภทเผื่อเรียกพิเศษเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.6 เป็น15,559.0 ล้านบาทเทียบกับที่
ลดลงร้อยละ 3.9 เหลือ15,461.8 ล้านบาทปีก่อนส่วนเงินฝากประเภทประจำลดลงร้อยละ 7.8 เหลือ 7,680.0 ล้านบาทเทียบ
กับที่ลดลงร้อยละ 1.8 เหลือ 8,333.8 ล้านบาทปีก่อนล้านบาทตามลำดับในปีนี้เงินฝากที่สาขาธนาคารออมสินขยายตัวมากที่จังหวัด
แม่ฮ่องสอนพิษณุโลก น่าน เชียงใหม่ และเชียงราย
ทางด้านการให้สินเชื่อของสาขาธนาคารออมสินในภาคเหนือมีการขยายตัวของการให้สินเชื่อในเกณฑ์สูงตามภาวะเศรษฐกิจ
ที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับต่ำ ตลอดจนการดำเนินการให้สินเชื่อตามนโยบายของทางการโดยปี 2546 มียอดคงค้าง
สินเชื่อเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 72.3 เป็น 31,896.0 ล้านบาทเร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.2 เป็น 18,513.8 ล้านบาท ปีก่อน
ทั้งนี้สินเชื่อประเภทบุคคลเพิ่มขึ้นร้อยละ70.0 เป็น 26,952.4 ล้านบาทเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.2 เป็น 15,851.5 ล้านบาท
ปีก่อน ตามความต้องการใช้สินเชื่อเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยเป็นสำคัญสินเชื่อประเภทธุรกิจ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เป็น 2,173.4 ล้านบาท
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นกว่าสามเท่าตัวเป็น 1,273.2 ล้านบาทปีก่อน สินเชื่อเบิกเกินบัญชีเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.8 เป็น 573.8ล้านบาทเทียบ
กับเพิ่มขึ้นร้อยละ 51.3 เป็น 388.3 ล้านบาท ปีก่อน และสินเชื่อประเภทอื่นๆ เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัวเป็น2,196.4 ล้านบาท เทียบกับ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.1 เป็น 1,000.8 ล้านบาท ขณะที่มีการให้สินเชื่อเพิ่มขึ้นในทุกจังหวัดโดยเฉพาะในจังหวัดลำปาง ลำพูน น่าน และตาก
ทางด้านการดำเนินงานตามโครงการธนาคารประชาชนของธนาคารออมสินในภาคเหนือ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546 มีสมาชิก
เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 138,103 รายเทียบกับ 102,052 รายปีก่อนหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ35.3 มียอดเงินให้กู้ทั้งหมด 2,935.6 ล้านบาท
เทียบกับ 1,925.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.7 โดยเพิ่มขึ้นมากในทุกจังหวัดเนื่องจากสาขาธนาคารออมสินได้เพิ่มประสิทธิภาพการ
ดำเนินงานโดยการให้บริการลูกหนี้อย่างใกล้ชิดและทั่วถึงประกอบกับมีการขยายวงเงินให้สินเชื่อแก่ลูกค้าที่มีศักยภาพและประวัติการชำระหนี้
ดีจากรายละ30,000 บาทต่อราย เป็น 50,000 บาทต่อราย และขยายฐานลูกค้าไปยังข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจที่ต้องการประกอบ
อาชีพเสริม ทางด้านยอดคงค้างสินเชื่อปี 2546 มีทั้งสิ้น 1,208.3 ล้านบาทเทียบกับ 1,061.6 ล้านบาทปีก่อน
เงินฝากและสินเชื่อธนาคารออมสินในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
2544 2545 2546
เงินฝาก 1/ 42,097.0 42,764.6 44,542.0
(23.7) (1.6) (4.2)
เผื่อเรียก 17,521.0 18,969.0 21,303.0
(66.0) (8.3) (12.3)
เผื่อเรียกพิเศษ 16,088.0 15,461.8 15,559.0
(3.0) (-3.9) (0.6)
ประจำ 8,488.0 8,333.8 7,680.0
(8.3) (-1.8) (-7.8)
สินเชื่อ 2/ 13,694.5 18,513.8 31,896.0
(75.2) (35.2) (72.3)
บุคคล 12,368.7 15,851.5 26,952.4
(84.8) (28.2) (70.0)
ธุรกิจ 311.3 1,273.2 2,173.4
(73.8) (308.9) (70.7)
เงินเบิกเกินบัญชี 256.7 388.3 573.8
(71.1) (51.3) (47.8)
อื่นๆ 757.8 1,000.8 2,196.4
(-4.4) (32.1) (119.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
ที่มา : 1/ ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ 2/ ธนาคารออมสินภาค 5 และภาค 7
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ปี 2546 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคเหนือมียอดคงค้างเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.7 เป็น
50,291.8 ล้านบาทเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 เป็น 45,011.6 ล้านบาทส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของเงินที่เกษตรกรนำฝาก
เพื่อเตรียมไว้สำหรับชำระหนี้ของโครงการพักชำระหนี้ที่จะสิ้นสุดในเดือนมีนาคม 2547 รวมทั้งเงินฝากของหน่วยงานราชการและ
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่มีการนำฝากเพิ่มขึ้นโดยเงินฝากประเภทออมทรัพย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.0 เป็น 42,357.4 ล้านบาท
เทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.7 เป็น 37,163.9 ล้านบาทปีก่อนเงินฝากประเภทประจำเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 เป็น 7,686.2ล้านบาท
เทียบกับลดลงร้อยละ 0.1 เหลือ 7,668.1ล้านบาทปีก่อนส่วนเงินฝากประเภทกระแสรายวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.2 เทียบกับเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 11.2เป็น 1,796 ล้านบาทปีก่อนเงินฝากเพิ่มขึ้นในทุกจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดพิษณุโลก พะเยา เชียงรายแม่ฮ่องสอน
และเชียงใหม่ เพิ่มขึ้นมาก
เงินฝากและสินเชื่อ
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
2544 2545 2546
เงินฝา 39,690.7 45,011.6 50,291.8
(7.9) (13.4) (11.7)
ออมทรัพย์ 31,855.4 37,163.9 42,357.4
(8.5) (16.7) (14.0)
ประจำ 7,673.8 7,668.1 7,686.2
(5.3) (-0.1) (0.2)
กระแสรายวัน 161.6 179.6 248.2
(26.5) (11.2) (38.2)
สินเชื่อ 65,196.9 69,366.7 74,710.2
(-1.0) (6.4) (7.7)
จ่ายกู้แก่เกษตรกรโดยตรง 30,091.3 26,154.8 32,104.6
(-21.2) (-13.1) (22.7)
รวมชำระคืน 25,700.2 22,878.4 27,242.6
(-15.9) (-11.0) (19.1)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
ที่มา : ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ทางด้านการให้สินเชื่อของสาขาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2545
มียอดคงค้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เป็น 74,710.2 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.4เป็น 69,366.7 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อน
ส่วนหนึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นจากการให้สินเชื่อเพื่อการแปรรูปสินค้าทางการเกษตรและการให้สินเชื่อแก่เกษตรกรที่ออกจากโครงการพัก
ชำระหนี้โดยสินเชื่อเพิ่มขึ้นมากที่จังหวัดพิษณุโลก นครสวรรค์ ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร น่าน และเชียงใหม่ ด้านการจ่ายเงินให้กู้แก่
เกษตรกรปี 2546 เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.7 เป็น 32,104.6 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 13.1 เหลือ 26,154.8 ล้านบาท ปีก่อน
ขณะที่การชำระคืนสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.1เป็น 27,242.6 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 11.0 เหลือ 22,878.4 ล้านบาทปีก่อน
บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ปี 2546 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสำนักงานภาคเหนือมียอดคงค้างสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เป็น
11,040.4 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.3 เป็น 10,546.5 ล้านบาทปีก่อนโดยในปีที่ผ่านมาได้อนุมัติเงินให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ
ในภาคเหนือรวม 258 โครงการจำนวนเงิน 3,503.7 ล้านบาท เทียบกับ304 โครงการจำนวนเงิน 2,683.5 ล้านบาทปีก่อนโดย
สินเชื่อประเภทเงินทุนระยะยาวเพิ่มขึ้นร้อยละ40.7 เป็น1,581.6 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8 เป็น 1,123.9 ล้านบาท
ปีก่อน สินเชื่อประเภทเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.9 เป็น 1,866.6 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 15.0 เหลือ1,363.7ล้านบาท
ปีก่อน ขณะที่สินเชื่อประเภทเช่าซื้อลดลงร้อยละ 78.7 เหลือ 14.0 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 36.8 เหลือ 65.6 ล้านบาท
ปีก่อน และสินเชื่อประเภท Trade Finance ลดลงร้อยละ 68.1เหลือ 41.6 ล้านบาท เทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 82.4เป็น130.3ล้านบาท
ปีก่อน ส่วนใหญ่เป็นการให้สินเชื่อแก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม อาทิ ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ฟาร์มสุกร ฟาร์มไก่ เซรามิก
แปรรูปอาหาร ผลิตภัณฑ์จากไม้ ซ่อมเครื่องยนต์
การโอนเงินเข้าและออกภาคเหนือ
ปี 2546 การโอนเงินของระบบธนาคารระหว่างภาคเหนือกับส่วนกลาง (รวมการโอนเงินผ่านศูนยกลางการโอนเงินที่
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ และระบบ BAHTNET) มีปริมาณเงินโอนออกสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.5 เป็น
172,620.2ล้านบาท เทียบกับที่ลดลงร้อยละ 0.7 เหลือ 139,760.8 ล้านบาทปีก่อน โดยมีเงินโอนออกทั้งสิ้น 512,951.8 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 27.5 ขณะที่มีเงินโอนเข้าภาคเหนือ340,331.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึงร้อยละ 29.7
ทางด้านเงินโอนภายในภาคเหนือของระบบธนาคารระหว่างศูนย์กลางการโอนเงิน (ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงาน
ภาคเหนือและที่สาขาจังหวัดลำปาง)กับผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทยในภาคเหนือมีเงินโอนเข้าสำนักงานภาคเหนือทั้งสิ้น356,166.9ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 16.5 ขณะที่ปริมาณเงินโอนออกจากสำนักงานภาคเหนือทั้งสิ้น 240,229.7 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ
25.1 ทำให้ในปี 2546มีปริมาณเงินโอนเข้าสำนักงานภาคเหนือสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 เป็น 115,937.2 ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ
6.0 เป็น 113,744.8 ล้านบาท ปีก่อนทั้งนี้การโอนเงินภายในภาคเหนือส่วนใหญ่เป็นเงินโอนจากผู้แทนธปท.ทั้งนี้เพื่อใช้หมุนเวียนตาม
การขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
--ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ--
-ยก-
ภาวะการเงิน
ปี 2546 เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือปรับตัวสูงขึ้นแม้ว่าในช่วง 9 เดือนของปี2546จะมีเงินฝากลดลงก็ตาม
ทั้งนี้จากปัจจัยการถอนเงินฝากส่วนหนึ่งไปลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ช่วยชาติช่วงปลายปีก่อน และเมื่อผลของปัจจัยดังกล่าวหมดลงตลอดจน
การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ ทำให้เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 เทียบกับที่ลดลงร้อยละ 2.8 ปีก่อน ขณะที่สินเชื่อ
ขยายตัวต่อเนื่องโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ10.1 เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 ระยะเดียวกันปีก่อนตามการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ และการ
ขยายการให้สินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ส่งผลให้สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ระดับร้อยละ 70.6 เทียบกับร้อยละ 65.7
ระยะเดียวกันปีก่อน
สำหรับภาวะการเงินของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่สำคัญมีดังนี้ สาขาธนาคารออมสินในภาคเหนือ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 เร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 ระยะเดียวกันปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเร่งตัวขึ้นโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 72.3 เทียบกับ
ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.2 ระยะเดียวกันปีก่อน สาขาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือมีเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ11.7
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 ระยะเดียวกันปีก่อนและมีสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.4 ระยะเดียว
กันปีก่อนบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ มียอดคงค้างสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ
14.3 ระยะเดียวกันปีก่อน
ยอดคงค้างเงินฝากและสินเชื่อของสถาบันการเงินในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
จำนวน % การเปลี่ยนแปลง
2544 2545 2546 2545 2546
เงินฝาก
ธนาคารพาณิชย์ 481 284,115.0 276,230.8 283,025.0 P -2.8 2.5
ธนาคารออมสิน 1/ 118 42,097.0 42,764.6 44,542.0 1.6 4.2
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 2/ 129 39,690.7 45,011.6 50,291.8 13.4 11.7
สินเชื่อ
ธนาคารพาณิชย์ 481 164,030.2 181,504.6 199,914.0 P 10.7 10.1
ธนาคารออมสิน 3/ 118 13,694.5 18,513.8 31,896.0 35.2 72.3
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 2/ 129 65,196.9 69,366.7 74,710.2 6.4 7.7
บรรษัทอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 4/ 8 9,230.1 10,546.5 11,040.4 14.3 4.7
หมายเหตุ : P ตัวเลขเบื้องต้น
ที่มา : 1/ ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ 2/ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
3/ ธนาคารออมสินภาค 5 และภาค 7 4/ บรรษัทอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ
การดำเนินงานของสถาบันการเงิน
ธนาคารพาณิชย์
ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546 มีสาขาธนาคารพาณิชย์เปิดดำเนินการทั้งสิ้น 481 สาขาแยกเป็นภาคเหนือตอนบน 286 สาขา
และภาคเหนือตอนล่าง 195 สาขาโดยแยกเป็นเขตอำเภอเมือง 265 สาขาและเขตอำเภอรอบนอก 216 สาขาโดยมีสาขา
ธนาคารพาณิชย์ที่เปิดดำเนินการใหม่ทั้งสิ้น 8 สาขา ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน) สาขาย่อยบิ๊กซี นครสวรรค์ และสาขาย่อย
บิ๊กซี พิษณุโลก ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาพิษณุโลกดารุ้ลยากีน และสาขาลำปางดารุ้ลอิคลาสธนาคารนครหลวงไทย จำกัด(มหาชน)
สาขาสุโขทัย สาขาอุตรดิตถ์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาย่อยนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ (ลำพูน)
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขาย่อยสถาบันราชภัฏลำปาง ขณะที่มีสาขาธนาคารพาณิชย์ปิดดำเนินการทั้งสิ้น 5 สาขา
เงินฝาก
ปี 2546 เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือปรับตัวสูงขึ้นแม้ว่าในช่วง 9 เดือนของปี2546จะมีเงินฝากลดลงก็ตาม
ทั้งนี้เป็นผลจากปัจจัยที่มีการถอนเงินฝากส่วนหนึ่งไปลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ช่วยชาติช่วงปลายปีก่อน และผลของปัจจัยดังกล่าวหมดลง
ตลอดจนการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจทำให้เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 เป็น 283,025.0 ล้านบาทเทียบกับที่
ลดลงร้อยละ 2.8 เหลือ 276,230.8 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อน ทั้งนี้สามารถจำแนกตามประเภทของเงินฝากได้ดังนี้ เงินฝาก
กระแสรายวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.5 เป็น 6,630.0 ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 ระยะเดียวกันปีก่อนออมทรัพย์เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 21.3 เป็น 129,085.0ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.9 เป็น 106,453.3 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อน ขณะที่
เงินฝากประจำลดลงต่อเนื่องจากปีก่อน โดยลดลงร้อยละ 10.5 เหลือ 147,310.0 ล้านบาท เทียบกับที่ลดลงร้อยละ 11.8 เหลือ
164,537.0 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อน
เมื่อพิจารณาเป็นรายอนุภาค เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ในเขตภาคเหนือตอนบนเพิ่มขึ้นร้อยละ2.9 เป็น
171,855.0 ล้านบาทเทียบกับที่ลดลงร้อยละ 2.8 เหลือ 166,941.1 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อนเพิ่มขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่
ลำปาง ตาก และน่าน ส่วนภาคเหนือตอนล่างเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 เป็น 111,170.0 ล้านบาท เทียบกับลดลงร้อยละ 2.7
เหลือ 109,289.7 ล้านบาท เงินฝากเพิ่มขึ้นมากในจังหวัดพิษณุโลก นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และกำแพงเพชร
ปริมาณเงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์
(หน่วย : ล้านบาท)
ยอดคงค้างเงินฝาก
ประเภทเงินฝาก 2544 2545 2546
กระแสรายวัน 4,960.1 5,240.6 6,630.0
(20.9) (5.7) (26.5)
ออมทรัพย์ 92,649.4 106,453.3 129,085.0
(21.6) (14.9) (21.3)
ประจำ 186,505.5 164,537.0 147,310.0
(-2.5) (-11.8) (-10.5)
รวม 284,115.0 276,230.8 283,025.0
(4.6) (-2.8) (2.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน P ตัวเลขเบื้องต้น
ยอดคงค้างของปริมาณเงินฝากที่สาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
2544 2545 2546 P
อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม
ภาคเหนือตอนบน 121,730.9 50,103.2 171,834.1 118,553.5 48,387.7 166,941.1 122,032.0 49,823.0 171,855.0
(4.3) (2.6) (3.8) (-2.6) (-3.4) (-2.8) (2.9) (3.0) (2.9)
ภาคเหนือตอนล่าง 69,090.4 43,190.5 112,280.9 67,609.2 41,680.5 109,289.7 69,530.0 41,640.0 111,170.0
(5.9) (5.7) (5.8) (-2.1) (-3.5) (-2.7) (2.8) (-0.1) (1.7)
รวม 190,821.3 93,293.7 284,115.0 186,162.7 90,068.1 276,230.8 191,562.0 91,463.0 283,025.0
(4.9) (4.0) (4.6) (-2.4) (-3.5) (-2.8) (2.9) (1.5) (2.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน P ตัวเลขเบื้องต้น
สินเชื่อ
ปี 2546 สินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือขยายตัวต่อเนื่องโดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 เป็น199,914.0 ล้านบาท
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 เป็น 181,504.6 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อนตามการฟื้นของสาขาธนาคารพาณิชย์แก่ภาคธุรกิจสำคัญ
นอกจากนี้อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่ำจูงใจให้มีการขอสินเชื่อทั้งในส่วนของประชาชนทั่วไปและผู้ประกอบการเพิ่มขึ้นส่งผลให้สัดส่วน
สินเชื่อต่อเงินฝากปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ระดับร้อยละ70.6เทียบกับร้อยละ 65.7 ระยะเดียวกันปีก่อนโดยสินเชื่อประเภทเบิกเกินบัญชีเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 1.0 เป็น55,472.0 ล้านบาทชะลอลงเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.1 เป็น 54,910.0 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อน
สินเชื่อประเภทเงินให้กู้และอื่นๆเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เป็น 111,050.0 ล้านบาทเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 เป็น 106,068.0 ล้านบาท
ระยะเดียวกันปีก่อนและสินเชื่อประเภทตั๋วเงินเพิ่มขึ้นร้อยละ 62.7 เป็น 33,392.0 ล้านบาทเร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.8
เป็น 20,526.6 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อน
เมื่อพิจารณาเป็นรายอนุภาคสินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ในเขตภาคเหนือตอนบนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 เป็น 124,324.0 ล้านบาท
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.9 เป็น 116,129.2 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อนเพิ่มขึ้นมากในจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง และเชียงราย
ส่วนภาคเหนือตอนล่างสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.6 เป็น 75,590.0 ล้านบาท เร่งตัวขึ้นเมื่อเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 เป็น
65,375.5 ล้านบาท ระยะเดียวกันปีก่อนและเพิ่มขึ้นมากในจังหวัดนครสวรรค์พิจิตรและพิษณุโลก
เมื่อพิจารณาสินเชื่อแยกตามประเภทธุรกรรมพบว่าปี 2546 ประเภทของสินเชื่อที่ขยายตัวสูงได้แก่สินเชื่อเพื่อการพาณิชย์สินเชื่อ
เพื่อการอุปโภคบริโภคสินเชื่อเพื่อการอุตสาหกรรมและสินเชื่อเพื่อการธนาคารและธุรกิจการเงิน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ใน
ระดับต่ำการแข่งขันของสาขาธนาคารพาณิชย์ตลอดจนการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องส่วนใหญ่เป็นการขยายตัวในจังหวัด
ที่เป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนของภาค ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ นครสวรรค์ และพิษณุโลก
ปริมาณสินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์
(หน่วย : ล้านบาท)
ยอดคงค้างสินเชื่อ
P
ประเภทสินเชื่อ 2544 2545 2546
เบิกเกินบัญชี 51,748.6 54,910.0 55,472.0
(-10.8) (6.1) (1.0)
เงินให้กู้และอื่นๆ 96,089.9 106,068.0 111,050.0
(-6.7) (10.4) (4.7)
ตั๋วเงิน 16,191.8 20,526.6 33,392.0
(1.7) (26.8) (62.7)
รวม 164,030.2 181,504.6 199,914.0
(-7.3) (10.7) (10.1)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
P ตัวเลขเบื้องต้น
ยอดคงค้างปริมาณสินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
P
2544 2545 2546
อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม อำเภอเมือง อำเภอรอบนอก รวม
ภาคเหนือตอนบน 77,005.0 27,707.1 104,712.0 87,358.7 28,770.5 116,129.2 94,983.0 29,341.0 124,324.0
(-6.1) (-2.5) (-5.2) (13.4) (3.8) (10.9) (8.7) (2.0) (7.1)
ภาคเหนือตอนล่าง 37,899.7 21,418.5 59,318.2 42,900.6 22,474.8 65,375.5 49,319.0 26,271.0 75,590.0
(-10.5) (-11.0) (-10.7) (13.2) (4.9) (10.2) (15.0) (16.9) (15.6)
รวม 114,904.7 49,125.6 164,030.2 130,259.4 51,245.3 181,504.6 144,302.0 55,612.0 199,914.0
(-7.6) (-6.4) (-7.3) (13.4) (4.3) (10.7) (10.8) (8.5) (10.1)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน P ตัวเลขเบื้องต้น
อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์
ปี 2546 อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์ยังคงปรับลดลงต่อเนื่องจากปีก่อนซึ่งเป็นการปรับตัวตามทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ
ธนาคารแห่งประเทศไทย และเพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารสภาพคล่องของแต่ละธนาคารเป็นสำคัญโดยอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์
ขนาดใหญ่ 4 แห่ง ประเภทฝากประจำระยะ3 เดือน ลดลงจากร้อยละ 1.75 ต่อปี ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2545 เหลือร้อยละ 1.00 ต่อปี
ประเภทเงินฝากประจำ12 เดือน ลดลงจากร้อยละ 2.00 ต่อปี เหลือร้อยละ 1.00 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ย MLR ลดลงจากร้อยละ 6.69
ต่อปี เหลือร้อยละ 5.69 ต่อปี
การดำเนินงานของสำนักหักบัญชี
ปี 2546 ปริมาณการใช้เช็คผ่านสำนักหักบัญชีทั้ง 16 แห่งในภาคเหนือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 เป็น 4,751,997 ฉบับเทียบกับเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 5.0 เป็น 4,618,345 ฉบับ ปีก่อนและมีมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.0 เป็น354,211 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2 เป็น
331,084 ล้านบาทปีก่อนสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่กระเตื้องขึ้นสำหรับปริมาณเช็คคืนลดลง 3.5 เหลือ 129,808 ฉบับเทียบกับที่ลดลง
ร้อยละ 6.1 เหลือ 134,571ฉบับ และมูลค่าลดลงร้อยละ 5.5 เหลือ 7,289 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 6.1 เหลือ 7,715 ล้านบาท
ปีก่อนส่งผลให้สัดส่วนปริมาณเช็คคืนต่อเช็คเรียกเก็บลดลงจากร้อยละ 2.9 ปีก่อนเหลือร้อยละ 2.7 และมูลค่าเช็คคืนต่อเช็คเรียกเก็บลดลง
จากร้อยละ 2.3 ปีก่อนเหลือร้อยละ 2.1 ทั้งนี้ในปีที่ผ่านมาการใช้เช็คเพิ่มขึ้นมากที่สำนักหักบัญชีจังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์
ลำปาง และเชียงราย สำหรับเช็คคืนลดลงมากที่สำนักหักบัญชี จังหวัดพิจิตร พะเยา ตาก และนครสวรรค์
การดำเนินงานของสำนักหักบัญชี
ปี เช็คเรียกเก็บ (1) เช็คคืน (2) ร้อยละ (2)/(1)
จำนวนเช็ค จำนวนเงิน จำนวนเช็ค จำนวนเงิน จำนวนเช็ค จำนวนเงิน
(ฉบับ) (ล้านบาท) (ฉบับ) (ล้านบาท)
2544 4,397,710 292,491 143,316 8,214 3.3 2.8
(144.1) (147.0) (127.2) (118.0)
2545 4,618,345 331,084 134,571 7,715 2.9 2.3
(5.0) (13.2) (-6.1) (-6.1)
2546 4,751,997 354,211 129,808 7,289 2.7 2.1
(2.9) (7.0) (-3.5) (-5.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
ธนาคารออมสิน
ปี 2546 สาขาธนาคารออมสินในภาคเหนือมียอดคงค้างเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 เป็น 44,542.0 ล้านบาทเร่งตัวขึ้น
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 เป็น 42,764.6 ล้านบาท ปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของเงินฝากตามโครงการธนาคาร
ประชาชนโดยเงินฝากประเภทเพื่อเรียกเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3เป็น 21,303.0 ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ8.3เป็น
18,969.0 ล้านบาท ปีก่อนเงินฝากประเภทเผื่อเรียกพิเศษเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.6 เป็น15,559.0 ล้านบาทเทียบกับที่
ลดลงร้อยละ 3.9 เหลือ15,461.8 ล้านบาทปีก่อนส่วนเงินฝากประเภทประจำลดลงร้อยละ 7.8 เหลือ 7,680.0 ล้านบาทเทียบ
กับที่ลดลงร้อยละ 1.8 เหลือ 8,333.8 ล้านบาทปีก่อนล้านบาทตามลำดับในปีนี้เงินฝากที่สาขาธนาคารออมสินขยายตัวมากที่จังหวัด
แม่ฮ่องสอนพิษณุโลก น่าน เชียงใหม่ และเชียงราย
ทางด้านการให้สินเชื่อของสาขาธนาคารออมสินในภาคเหนือมีการขยายตัวของการให้สินเชื่อในเกณฑ์สูงตามภาวะเศรษฐกิจ
ที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องอัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับต่ำ ตลอดจนการดำเนินการให้สินเชื่อตามนโยบายของทางการโดยปี 2546 มียอดคงค้าง
สินเชื่อเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 72.3 เป็น 31,896.0 ล้านบาทเร่งตัวขึ้นเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.2 เป็น 18,513.8 ล้านบาท ปีก่อน
ทั้งนี้สินเชื่อประเภทบุคคลเพิ่มขึ้นร้อยละ70.0 เป็น 26,952.4 ล้านบาทเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.2 เป็น 15,851.5 ล้านบาท
ปีก่อน ตามความต้องการใช้สินเชื่อเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยเป็นสำคัญสินเชื่อประเภทธุรกิจ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เป็น 2,173.4 ล้านบาท
เทียบกับที่เพิ่มขึ้นกว่าสามเท่าตัวเป็น 1,273.2 ล้านบาทปีก่อน สินเชื่อเบิกเกินบัญชีเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.8 เป็น 573.8ล้านบาทเทียบ
กับเพิ่มขึ้นร้อยละ 51.3 เป็น 388.3 ล้านบาท ปีก่อน และสินเชื่อประเภทอื่นๆ เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัวเป็น2,196.4 ล้านบาท เทียบกับ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.1 เป็น 1,000.8 ล้านบาท ขณะที่มีการให้สินเชื่อเพิ่มขึ้นในทุกจังหวัดโดยเฉพาะในจังหวัดลำปาง ลำพูน น่าน และตาก
ทางด้านการดำเนินงานตามโครงการธนาคารประชาชนของธนาคารออมสินในภาคเหนือ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546 มีสมาชิก
เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 138,103 รายเทียบกับ 102,052 รายปีก่อนหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ35.3 มียอดเงินให้กู้ทั้งหมด 2,935.6 ล้านบาท
เทียบกับ 1,925.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.7 โดยเพิ่มขึ้นมากในทุกจังหวัดเนื่องจากสาขาธนาคารออมสินได้เพิ่มประสิทธิภาพการ
ดำเนินงานโดยการให้บริการลูกหนี้อย่างใกล้ชิดและทั่วถึงประกอบกับมีการขยายวงเงินให้สินเชื่อแก่ลูกค้าที่มีศักยภาพและประวัติการชำระหนี้
ดีจากรายละ30,000 บาทต่อราย เป็น 50,000 บาทต่อราย และขยายฐานลูกค้าไปยังข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจที่ต้องการประกอบ
อาชีพเสริม ทางด้านยอดคงค้างสินเชื่อปี 2546 มีทั้งสิ้น 1,208.3 ล้านบาทเทียบกับ 1,061.6 ล้านบาทปีก่อน
เงินฝากและสินเชื่อธนาคารออมสินในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
2544 2545 2546
เงินฝาก 1/ 42,097.0 42,764.6 44,542.0
(23.7) (1.6) (4.2)
เผื่อเรียก 17,521.0 18,969.0 21,303.0
(66.0) (8.3) (12.3)
เผื่อเรียกพิเศษ 16,088.0 15,461.8 15,559.0
(3.0) (-3.9) (0.6)
ประจำ 8,488.0 8,333.8 7,680.0
(8.3) (-1.8) (-7.8)
สินเชื่อ 2/ 13,694.5 18,513.8 31,896.0
(75.2) (35.2) (72.3)
บุคคล 12,368.7 15,851.5 26,952.4
(84.8) (28.2) (70.0)
ธุรกิจ 311.3 1,273.2 2,173.4
(73.8) (308.9) (70.7)
เงินเบิกเกินบัญชี 256.7 388.3 573.8
(71.1) (51.3) (47.8)
อื่นๆ 757.8 1,000.8 2,196.4
(-4.4) (32.1) (119.5)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
ที่มา : 1/ ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ 2/ ธนาคารออมสินภาค 5 และภาค 7
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ปี 2546 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคเหนือมียอดคงค้างเงินฝากเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.7 เป็น
50,291.8 ล้านบาทเทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 เป็น 45,011.6 ล้านบาทส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของเงินที่เกษตรกรนำฝาก
เพื่อเตรียมไว้สำหรับชำระหนี้ของโครงการพักชำระหนี้ที่จะสิ้นสุดในเดือนมีนาคม 2547 รวมทั้งเงินฝากของหน่วยงานราชการและ
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่มีการนำฝากเพิ่มขึ้นโดยเงินฝากประเภทออมทรัพย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.0 เป็น 42,357.4 ล้านบาท
เทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.7 เป็น 37,163.9 ล้านบาทปีก่อนเงินฝากประเภทประจำเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 เป็น 7,686.2ล้านบาท
เทียบกับลดลงร้อยละ 0.1 เหลือ 7,668.1ล้านบาทปีก่อนส่วนเงินฝากประเภทกระแสรายวันเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.2 เทียบกับเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 11.2เป็น 1,796 ล้านบาทปีก่อนเงินฝากเพิ่มขึ้นในทุกจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดพิษณุโลก พะเยา เชียงรายแม่ฮ่องสอน
และเชียงใหม่ เพิ่มขึ้นมาก
เงินฝากและสินเชื่อ
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือ
(หน่วย : ล้านบาท)
2544 2545 2546
เงินฝา 39,690.7 45,011.6 50,291.8
(7.9) (13.4) (11.7)
ออมทรัพย์ 31,855.4 37,163.9 42,357.4
(8.5) (16.7) (14.0)
ประจำ 7,673.8 7,668.1 7,686.2
(5.3) (-0.1) (0.2)
กระแสรายวัน 161.6 179.6 248.2
(26.5) (11.2) (38.2)
สินเชื่อ 65,196.9 69,366.7 74,710.2
(-1.0) (6.4) (7.7)
จ่ายกู้แก่เกษตรกรโดยตรง 30,091.3 26,154.8 32,104.6
(-21.2) (-13.1) (22.7)
รวมชำระคืน 25,700.2 22,878.4 27,242.6
(-15.9) (-11.0) (19.1)
หมายเหตุ : ตัวเลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละจากระยะเดียวกันปีก่อน
ที่มา : ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ทางด้านการให้สินเชื่อของสาขาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2545
มียอดคงค้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เป็น 74,710.2 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.4เป็น 69,366.7 ล้านบาทระยะเดียวกันปีก่อน
ส่วนหนึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นจากการให้สินเชื่อเพื่อการแปรรูปสินค้าทางการเกษตรและการให้สินเชื่อแก่เกษตรกรที่ออกจากโครงการพัก
ชำระหนี้โดยสินเชื่อเพิ่มขึ้นมากที่จังหวัดพิษณุโลก นครสวรรค์ ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร น่าน และเชียงใหม่ ด้านการจ่ายเงินให้กู้แก่
เกษตรกรปี 2546 เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.7 เป็น 32,104.6 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 13.1 เหลือ 26,154.8 ล้านบาท ปีก่อน
ขณะที่การชำระคืนสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.1เป็น 27,242.6 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 11.0 เหลือ 22,878.4 ล้านบาทปีก่อน
บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ปี 2546 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสำนักงานภาคเหนือมียอดคงค้างสินเชื่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เป็น
11,040.4 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.3 เป็น 10,546.5 ล้านบาทปีก่อนโดยในปีที่ผ่านมาได้อนุมัติเงินให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ
ในภาคเหนือรวม 258 โครงการจำนวนเงิน 3,503.7 ล้านบาท เทียบกับ304 โครงการจำนวนเงิน 2,683.5 ล้านบาทปีก่อนโดย
สินเชื่อประเภทเงินทุนระยะยาวเพิ่มขึ้นร้อยละ40.7 เป็น1,581.6 ล้านบาทเทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8 เป็น 1,123.9 ล้านบาท
ปีก่อน สินเชื่อประเภทเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.9 เป็น 1,866.6 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 15.0 เหลือ1,363.7ล้านบาท
ปีก่อน ขณะที่สินเชื่อประเภทเช่าซื้อลดลงร้อยละ 78.7 เหลือ 14.0 ล้านบาทเทียบกับลดลงร้อยละ 36.8 เหลือ 65.6 ล้านบาท
ปีก่อน และสินเชื่อประเภท Trade Finance ลดลงร้อยละ 68.1เหลือ 41.6 ล้านบาท เทียบกับเพิ่มขึ้นร้อยละ 82.4เป็น130.3ล้านบาท
ปีก่อน ส่วนใหญ่เป็นการให้สินเชื่อแก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม อาทิ ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ฟาร์มสุกร ฟาร์มไก่ เซรามิก
แปรรูปอาหาร ผลิตภัณฑ์จากไม้ ซ่อมเครื่องยนต์
การโอนเงินเข้าและออกภาคเหนือ
ปี 2546 การโอนเงินของระบบธนาคารระหว่างภาคเหนือกับส่วนกลาง (รวมการโอนเงินผ่านศูนยกลางการโอนเงินที่
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ และระบบ BAHTNET) มีปริมาณเงินโอนออกสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.5 เป็น
172,620.2ล้านบาท เทียบกับที่ลดลงร้อยละ 0.7 เหลือ 139,760.8 ล้านบาทปีก่อน โดยมีเงินโอนออกทั้งสิ้น 512,951.8 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 27.5 ขณะที่มีเงินโอนเข้าภาคเหนือ340,331.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึงร้อยละ 29.7
ทางด้านเงินโอนภายในภาคเหนือของระบบธนาคารระหว่างศูนย์กลางการโอนเงิน (ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงาน
ภาคเหนือและที่สาขาจังหวัดลำปาง)กับผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทยในภาคเหนือมีเงินโอนเข้าสำนักงานภาคเหนือทั้งสิ้น356,166.9ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 16.5 ขณะที่ปริมาณเงินโอนออกจากสำนักงานภาคเหนือทั้งสิ้น 240,229.7 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ
25.1 ทำให้ในปี 2546มีปริมาณเงินโอนเข้าสำนักงานภาคเหนือสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 เป็น 115,937.2 ล้านบาท เทียบกับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ
6.0 เป็น 113,744.8 ล้านบาท ปีก่อนทั้งนี้การโอนเงินภายในภาคเหนือส่วนใหญ่เป็นเงินโอนจากผู้แทนธปท.ทั้งนี้เพื่อใช้หมุนเวียนตาม
การขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
--ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ--
-ยก-