1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 โครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปี 2547/48
? เป้าหมายรับจำนำ 9 ล้านตันข้าวเปลือก ดำเนินการโดย
- ธ.ก.ส.รับจำนำในยุ้งฉางของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย 4.5 ล้าน ตันข้าวเปลือก แบ่งออกเป็น ข้าวหอมมะลิ 3
ล้านตัน ข้าวเปลือกเจ้า 0.5 ล้านตัน และข้าวเปลือกเหนียว 1 ล้านตัน
- อคส.รับจำนำจากเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรที่ไม่มียุ้งฉางของ ตนเอง โดยออกใบประทวน ให้เกษตรกรไปจำนำ ธ.ก.ส.เป้า
หมาย 4.5 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งออก เป็นข้าวหอม มะลิ 2 ล้านตัน และข้าวเปลือกเจ้า 2.5 ล้านตัน
? ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำ ข้าว ณ ระดับความชื้น 15% แยกตามชนิดข้าว
? เริ่มรับจำนำ 1 พย.47 - 31 มีค.48 ยกเว้นภาคใต้ ให้รับจำนำ 15 มค. - 15 พค.48
? ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่จำนำ
? ระยะเวลาโครงการ 1 พย .4 7 -31 ตค .4 8
? ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 31 กค.48)
สรุปผลการดำเนินงานรับจำนำข้าว (ณ.วันที่ 31 สค.48)
รายการ เป้าหมาย (ล้านตัน) การรับจำนำ ไถ่ถอน คงเหลือ
ราย ปริมาณ มูลค่า ร้อยละของ ราย ปริมาณ (ตัน) มูลค่า(ล้านบาท) ราย ปริมาณ (ตัน) มูลค่า
(ตัน) (ล้านบาท) เป้าหมาย (ล้านบาท)
จำนำยุ้งฉาง
ธกส. 4.5 59,077 302,967 2,750 6.73 36,205 141,907 1,243 22,872 161,060 1,507
ใบประทวน
อคส. 4.5 442,432 4,455,516 36,512 99.01 4,246 174,845 1,499 438,186 4,280,671 35,013
รวมทั้งหมด 9 501,509 4,758,483 39,262 52.87 40,451 316,752 2,742 461,058 4,441,731 36,520
ที่มา : ธ.ก.ส. (กองธุรกิจสินเชื่อนโยบายรัฐ)
1.2 โครง การรับจำนำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2548
? เป้าหมายรับจำนำ 2.5 ล้านตันข้าวเปลือก โดยให้องค์การคลังสินค้า (อคส.) รับฝากและออก
ใบประทวน และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รับจำนำใบประทวนที่ อคส. ออกให้แก่เกษตรกรและสถาบัน
เกษตรกร
? ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำ ณ ระดับ ความชื้นไม่เกิน 15 % สูงกว่าราคารับจำนำข้าว เปลือกนาปี ปี 2547/48 ตันละ
100 บาท ดังนี้ ข้าวเปลือกเจ้านาปรัง 100% ตันละ 6,700 บาท บาท ส่วนข้าวเปลือกเจ้าชนิดอื่นๆ ลดหลั่นลงชั้นละ 100 บาท ข้าวเปลือก
ปทุมธานี ตันละ 6,700 บาท และข้าวเปลือกหอมสุพรรณบุรี ตันละ 6,600 บาท
? เริ่ม รับจำนำ 15 เม.ย. — 15 ส.ค. 2548 ยกเว้นภาคใต้ ให้รับจำนำ ก.ค. — ก.ย. 2548
? ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจำนำ
? ระยะเวลาโครงการ 15 เม.ย. — ธ.ค. 2548
? ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 11 กย.48) อคส. รับจำนำ ข้าวจำนวน 797,217 ตัน
การซื้อขายข้าวในช่วงสัปดาห์นี้ ภาวะการซื้อขายข้าวเปลือกยังไม่คึกคักเท่าที่ควร เนื่องจากเป็นช่วงเริ่ม ต้นฤดูเก็บเกี่ยว ประกอบกับ
ภาวะฝนตกชุกในช่วงนี้ทำให้การเก็บเกี่ยวมีอุปสรรคส่งผลให้ราคาข้าว เปลือก ทรงตัวอยู่ในระดับใกล้เคียงกับสัปดาห์ก่อน สำหรับตลาดข้าวสารผู้ส่ง
ออกมีความต้องการ ปลายข้าวขาวเป็นส่วนใหญ่ ทำให้ราคาข้าวสารเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
การส่งออก
ตั้ง แต่วันที่ 1 มกราคม — 21 กันยายน 2548 ไทยส่งออกข้าว ทั้งหมด จำนวน 34741,614 ตัน ลดลง จาก 5,402,356 ตัน ของ
การส่งออกข้าวในช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 30.74 (ที่มา : สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย)
ราคา
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ราคาข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลินาปี ที่ เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 7,851 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ 7,653 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.58
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปี 5 % ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,684 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ 6,645 บาท ของ
สัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปรังความชื้น 14 % -15 % ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,827 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ
6,729 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.45
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาข้าวสารเจ้า 5% ( ใ หม่) ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 11 , 085 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ
11,025 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาข้าวหอมมะลิ ไทย ชั้น 2 ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐ (16,315 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน
ละ 403 ดอลลาร์สหรัฐ (16,423 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.50 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 108 บาท
ราคาข้าวสารเจ้า 5 % (ใหม่) ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐ (11,799 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจาก
ตันละ 289 ดอลลาร์สหรัฐ (11,777 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.35 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ราคาข้าวนึ่ง 5 % ส่งออก เอฟ.โอ.บี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 291 ดอลลาร์สหรัฐ (11,840 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 290
ดอลลาร์สหรัฐ (11,818 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
ญี่ปุ่นกำหนดเกณฑ์การนำเข้าข้าวใหม่รองรับข้าวเวียดนาม
เวียดนามคาดหวังจะส่งออกข้าวไปญี่ปุ่นมากขึ้นในปีหน้า หลังจากได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ของกระทรวง เกษตร ของญี่ปุ่นว่า ปีหน้าญี่ปุ่น
จะจะกำหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์การนำเข้าข้าวใหม่ เพราะเห็นว่า คุณภาพข้าวของ เวียดนามเป็นที่ยอมรับอย่างเป็นทางการจากญี่ปุ่นแล้ว ทั้งนี้
ญี่ปุ่นจะกำหนดให้ เวียดนามเป็นแหล่งข้าวอีกแหล่งหนึ่ง ที่ญี่ปุ่นจะนำเข้า โดยปกติญี่ปุ่นนำเข้าข้าวภายใต้ข้อผูกพัน WTO ปีละ 770,000 ตัน ใช้วิธีการ
ประมูล โดยกำหนดปริมาณและแหล่งนำเข้า ซึ่งแหล่งนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐฯ จีน ออสเตรเลีย ซึ่งเป็นแหล่งข้าวเมล็ดสั้นและเมล็ดปานกลาง
และไทย ซึ่งเป็นแหล่งผลิตข้าว เมล็ดยาว สำหรับเวียดนาม เป็นแหล่งผลิตข้าวเมล็ดยาว จึงอาจเป็น ไปได้ว่า เวียดนามจะเข้ามามีส่วน แบ่งใน
ตลาดข้าวเมล็ดยาวของไทยในตลาดญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม ปี 2548 เวียดนาม ส่งออกข้าวไป ญี่ปุ่นแล้ว 90,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 25,900 ตันของปี
ก่อนกว่าสองเท่าตัว และคาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น อีกในปีหน้าหลังจากที่ญี่ปุ่นกำหนดเกณฑ์การนำเข้าข้าวใหม่
ราคา
ราคาส่งออกข้าวของประเทศต่าง ๆ ในสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ไทย
ข้าวหอมมะลิ ราคาตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,315 บาท/ตัน)
ข้าว 5% ราคาตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐฯ (11,799 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 257 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,456 บาท/ตัน)
เวียดนาม
ข้าว 5% ราคาตันละ 255 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,375 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 236 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9,602 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 40.6865 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 37 ประจำวันที่ 19-25 กันยายน 2548--
-พห-
1.1 โครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปี 2547/48
? เป้าหมายรับจำนำ 9 ล้านตันข้าวเปลือก ดำเนินการโดย
- ธ.ก.ส.รับจำนำในยุ้งฉางของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย 4.5 ล้าน ตันข้าวเปลือก แบ่งออกเป็น ข้าวหอมมะลิ 3
ล้านตัน ข้าวเปลือกเจ้า 0.5 ล้านตัน และข้าวเปลือกเหนียว 1 ล้านตัน
- อคส.รับจำนำจากเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรที่ไม่มียุ้งฉางของ ตนเอง โดยออกใบประทวน ให้เกษตรกรไปจำนำ ธ.ก.ส.เป้า
หมาย 4.5 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งออก เป็นข้าวหอม มะลิ 2 ล้านตัน และข้าวเปลือกเจ้า 2.5 ล้านตัน
? ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำ ข้าว ณ ระดับความชื้น 15% แยกตามชนิดข้าว
? เริ่มรับจำนำ 1 พย.47 - 31 มีค.48 ยกเว้นภาคใต้ ให้รับจำนำ 15 มค. - 15 พค.48
? ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่จำนำ
? ระยะเวลาโครงการ 1 พย .4 7 -31 ตค .4 8
? ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 31 กค.48)
สรุปผลการดำเนินงานรับจำนำข้าว (ณ.วันที่ 31 สค.48)
รายการ เป้าหมาย (ล้านตัน) การรับจำนำ ไถ่ถอน คงเหลือ
ราย ปริมาณ มูลค่า ร้อยละของ ราย ปริมาณ (ตัน) มูลค่า(ล้านบาท) ราย ปริมาณ (ตัน) มูลค่า
(ตัน) (ล้านบาท) เป้าหมาย (ล้านบาท)
จำนำยุ้งฉาง
ธกส. 4.5 59,077 302,967 2,750 6.73 36,205 141,907 1,243 22,872 161,060 1,507
ใบประทวน
อคส. 4.5 442,432 4,455,516 36,512 99.01 4,246 174,845 1,499 438,186 4,280,671 35,013
รวมทั้งหมด 9 501,509 4,758,483 39,262 52.87 40,451 316,752 2,742 461,058 4,441,731 36,520
ที่มา : ธ.ก.ส. (กองธุรกิจสินเชื่อนโยบายรัฐ)
1.2 โครง การรับจำนำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2548
? เป้าหมายรับจำนำ 2.5 ล้านตันข้าวเปลือก โดยให้องค์การคลังสินค้า (อคส.) รับฝากและออก
ใบประทวน และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รับจำนำใบประทวนที่ อคส. ออกให้แก่เกษตรกรและสถาบัน
เกษตรกร
? ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำ ณ ระดับ ความชื้นไม่เกิน 15 % สูงกว่าราคารับจำนำข้าว เปลือกนาปี ปี 2547/48 ตันละ
100 บาท ดังนี้ ข้าวเปลือกเจ้านาปรัง 100% ตันละ 6,700 บาท บาท ส่วนข้าวเปลือกเจ้าชนิดอื่นๆ ลดหลั่นลงชั้นละ 100 บาท ข้าวเปลือก
ปทุมธานี ตันละ 6,700 บาท และข้าวเปลือกหอมสุพรรณบุรี ตันละ 6,600 บาท
? เริ่ม รับจำนำ 15 เม.ย. — 15 ส.ค. 2548 ยกเว้นภาคใต้ ให้รับจำนำ ก.ค. — ก.ย. 2548
? ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจำนำ
? ระยะเวลาโครงการ 15 เม.ย. — ธ.ค. 2548
? ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 11 กย.48) อคส. รับจำนำ ข้าวจำนวน 797,217 ตัน
การซื้อขายข้าวในช่วงสัปดาห์นี้ ภาวะการซื้อขายข้าวเปลือกยังไม่คึกคักเท่าที่ควร เนื่องจากเป็นช่วงเริ่ม ต้นฤดูเก็บเกี่ยว ประกอบกับ
ภาวะฝนตกชุกในช่วงนี้ทำให้การเก็บเกี่ยวมีอุปสรรคส่งผลให้ราคาข้าว เปลือก ทรงตัวอยู่ในระดับใกล้เคียงกับสัปดาห์ก่อน สำหรับตลาดข้าวสารผู้ส่ง
ออกมีความต้องการ ปลายข้าวขาวเป็นส่วนใหญ่ ทำให้ราคาข้าวสารเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
การส่งออก
ตั้ง แต่วันที่ 1 มกราคม — 21 กันยายน 2548 ไทยส่งออกข้าว ทั้งหมด จำนวน 34741,614 ตัน ลดลง จาก 5,402,356 ตัน ของ
การส่งออกข้าวในช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 30.74 (ที่มา : สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย)
ราคา
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ราคาข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลินาปี ที่ เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 7,851 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ 7,653 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.58
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปี 5 % ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,684 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ 6,645 บาท ของ
สัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปรังความชื้น 14 % -15 % ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,827 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ
6,729 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.45
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาข้าวสารเจ้า 5% ( ใ หม่) ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 11 , 085 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ
11,025 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาข้าวหอมมะลิ ไทย ชั้น 2 ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐ (16,315 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน
ละ 403 ดอลลาร์สหรัฐ (16,423 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.50 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 108 บาท
ราคาข้าวสารเจ้า 5 % (ใหม่) ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐ (11,799 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจาก
ตันละ 289 ดอลลาร์สหรัฐ (11,777 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.35 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ราคาข้าวนึ่ง 5 % ส่งออก เอฟ.โอ.บี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 291 ดอลลาร์สหรัฐ (11,840 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 290
ดอลลาร์สหรัฐ (11,818 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
ญี่ปุ่นกำหนดเกณฑ์การนำเข้าข้าวใหม่รองรับข้าวเวียดนาม
เวียดนามคาดหวังจะส่งออกข้าวไปญี่ปุ่นมากขึ้นในปีหน้า หลังจากได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ของกระทรวง เกษตร ของญี่ปุ่นว่า ปีหน้าญี่ปุ่น
จะจะกำหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์การนำเข้าข้าวใหม่ เพราะเห็นว่า คุณภาพข้าวของ เวียดนามเป็นที่ยอมรับอย่างเป็นทางการจากญี่ปุ่นแล้ว ทั้งนี้
ญี่ปุ่นจะกำหนดให้ เวียดนามเป็นแหล่งข้าวอีกแหล่งหนึ่ง ที่ญี่ปุ่นจะนำเข้า โดยปกติญี่ปุ่นนำเข้าข้าวภายใต้ข้อผูกพัน WTO ปีละ 770,000 ตัน ใช้วิธีการ
ประมูล โดยกำหนดปริมาณและแหล่งนำเข้า ซึ่งแหล่งนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐฯ จีน ออสเตรเลีย ซึ่งเป็นแหล่งข้าวเมล็ดสั้นและเมล็ดปานกลาง
และไทย ซึ่งเป็นแหล่งผลิตข้าว เมล็ดยาว สำหรับเวียดนาม เป็นแหล่งผลิตข้าวเมล็ดยาว จึงอาจเป็น ไปได้ว่า เวียดนามจะเข้ามามีส่วน แบ่งใน
ตลาดข้าวเมล็ดยาวของไทยในตลาดญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม ปี 2548 เวียดนาม ส่งออกข้าวไป ญี่ปุ่นแล้ว 90,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 25,900 ตันของปี
ก่อนกว่าสองเท่าตัว และคาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น อีกในปีหน้าหลังจากที่ญี่ปุ่นกำหนดเกณฑ์การนำเข้าข้าวใหม่
ราคา
ราคาส่งออกข้าวของประเทศต่าง ๆ ในสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ไทย
ข้าวหอมมะลิ ราคาตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,315 บาท/ตัน)
ข้าว 5% ราคาตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐฯ (11,799 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 257 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,456 บาท/ตัน)
เวียดนาม
ข้าว 5% ราคาตันละ 255 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,375 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 236 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9,602 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 40.6865 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 37 ประจำวันที่ 19-25 กันยายน 2548--
-พห-