สรุปภาวะการค้าระหว่างไทย-อินเดีย เดือนมกราคม-กรกฎาคม 2547

ข่าวเศรษฐกิจ Monday September 13, 2004 14:44 —กรมส่งเสริมการส่งออก

        1. อินเดียเป็นตลาดนำเข้าสำคัญอันดับ 45 ของโลก โดยมีมูลค่าการนำเข้า 71,182,541,303 เหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.39 (ม.ค.-ธ.ค. 2546)
2. แหล่งผลิตสำคัญที่อินเดียนำเข้าในปี 2546 (ม.ค.-ธ.ค.) ได้แก่
- สหรัฐฯ ร้อยละ 6.76 มูลค่า 4,813,429,155 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.34
- เบลเยี่ยม ร้อยละ 5.14 มูลค่า 3,659,879,056 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.65
- จีน ร้อยละ 5.02 มูลค่า 3,570,005,186 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.04
- สวิสเซอร์แลนด์ ร้อยละ 4.36 มูลค่า 3,102,575,953 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.95
ส่วนการนำเข้าจากไทยอยู่อันดับที่ 26 สัดส่วนร้อยละ 0.75 มูลค่า 534,176,936 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 46.75
3. อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของอินเดีย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 10 ของอินเดียระบุชัดเจนว่าอินเดียจะมีอัตราการเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 8% ต่อปี จนถึงปี 2550 ซึ่งในปัจจุบันอินเดียมีฐานะทุนสำรองเงินตราต่างประเทศสูงถึง 106,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ทั้งนี้
ภายหลังอินเดียประกาศตัวเลขอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ วัดโดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ไตรมาสสุดท้ายปี 2546 เพิ่ม 10.4% เป็น
การขยายตัวสูงกว่า GDP ของจีนไตรมาสเดียวกันที่ 9.9%
ตารางเปรียบเทียบดุลการค้าของประเทศอินเดียเดือนมกราคม-ธันวาคม 2546
ม.ค.-ธ.ค. %เปลี่ยนแปลง
ลำดับ ประเทศ 2001 2002 2003 02/01 03/02
0 โลก -6829.431267 -7471.657085 -13725.373440 9.4 83.7
2 สหรัฐอเมริกา 5251.563426 6578.404765 6172.097359 25.27 -6.18
3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1641.049877 2232.608475 2701.789539 36.05 21.01
4 สวิตเซอร์แลนด์ -2999.754819 -1875.499433 -2652.652424 -37.48 41.44
5 เบลเยี่ยม -1098.377752 -1952.854387 -1916.538559 77.79 -1.86
34 ไทย 190.718961 374.769043 180.143082 96.5 -51.93
สินค้า 10 อันดับแรกที่ไทยนำเข้าจากประเทศอินเดีย
รายการ 2543 2544 2545 2546 2547
(ม.ค.- ก.ค.)
1เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 193.96 185.92 208.24 206.03 160.26
2กากพืชน้ำมัน (ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ผลปาล์ม เมล็ดฝ้า 59.88 60.57 46.73 42.51 107.85
3เหล็กและเหล็กกล้า 27.49 59.35 67.67 117.22 101.93
4เคมีภัณฑ์ 88.2 105.25 95.86 101.15 66.69
5สินแร่โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ 10.07 22.95 73.3 91.39 53.41
6น้ำมันสำเร็จรูป 0 0 31.65 21.04 44.9
7เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม 10.71 14.42 22.42 39.36 21.22
8เส้นใยใช้ในการทอ 5.98 6.81 3.43 3.65 19.42
9ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม 24.88 27.8 30.51 32.6 15.16
10เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 0.43 0.07 17.04 40.07 14.82
รวมสินค้า 10 รายการ 421.6 483.15 596.85 695.02 605.65
อื่นๆ 201.3 187.85 174.27 174.87 96.97
มูลค่ารวม 622.9 671 771.12 869.9 702.63
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ
4. อินเดียเป็นตลาดส่งออกอันดับที่ 22 ของไทย โดยมีสัดส่วนการส่งออกไปตลาดนี้ (ม.ค.-ก.ค 2547) สัดส่วนการส่งออก 0.46
มีมูลค่าการส่งออก 500.16 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 39.25
5. สินค้าไทยส่งออกไปอินเดีย (ม.ค.-ก.ค. 2547) 25 อันดับแรกมีสัดส่วนรวมกันร้อยละ 80.49 ของมูลค่าการส่งออกโดยรวมไปตลาดนี้
สินค้าสำคัญที่มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 100 มี 9 รายการ สินค้าสำคัญที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 50 มี 5 รายการ และสินค้าที่มี
มูลค่าลดลงเกินกว่าร้อยละ 10 มี 2 รายการ
สถิติการส่งออกสินค้าไทยไปอินเดียที่มีมูลค่าการเปลี่ยนแปลงสูง
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าการ
ตลาด เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง สัดส่วนร้อยละ 2547
อันดับที่ ม.ค.-,ก.ค..46 ม.ค.-ก.ค..47 (ม.ค.-กค.) ม.ค.-ก.ค. ม.ค.-ก.ค.
1. สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกไปอินเดีย เพิ่มขึ้นสูงมากกว่าร้อยละ 100 มี 9 รายการ
(1) เม็ดพลาสติก 2 18.13 38.19 20.06 110.64 5.04 7.64
(2) รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 3 13.18 36.68 23.5 178.26 3.6 7.33
(3) เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์ 4 14.64 32.57 27.93 122.47 4.07 6.5
(4) เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วน 6 4.88 18.83 13.95 286.14 1.35 3.77
ประกอบ
(5) อัญมณีและเครื่องประดับ 9 6.53 16.93 10.4 159.25 1.81 3.38
(6) เครื่องคอมเพรสเซอร์ของเครื่องทำ 14 3.8 10.2 6.4 168.09 1.05 2.04
ความเย็น
(7) เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่นๆ 20 2.79 6.91 4.12 147.55 0.77 1.38
(8) สายไฟฟ้า สายเคเบิล 22 1.72 5.75 4.03 234.59 0.47 1.15
(9) วงจรพิมพ์ 24 0.96 5.08 4.12 431.5 0.26 1.02
2. สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกไปสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นสูงมากกว่าร้อยละ 50 มี 5 รายการ
(1) เส้นใยประดิษฐ์ 11 8.37 15.76 7.39 88.3 2.33 3.15
(2) ผลิตภัณฑ์พลาสติก 13 6.47 10.48 4.01 61.93 1.8 2.1
(3) ทองแดงและของทำด้วยทองแดง 16 5.5 9.01 3.51 63.86 1.53 1.8
(4) ผลิตภัณฑ์ยาง 19 3.98 7.13 3.15 79.04 1.1 1.43
(5) ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม 23 2.96 5.43 2.47 83.3 0.82 1
3. สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกไปสหรัฐฯ ลดลง
มากกว่าร้อยละ 10 มี 2 รายการ
(1) เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูป 7 20.63 18.23 -2.4 -11.62 5.74 3.65
และส่วนประกอบ
(2) เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ 21 7.58 6.7 -0.88 -11.63 2.11 1.34
รวบรวมโดย : ศูนย์สารสนเทศการค้าระหว่างประเทศ
จากสถิติการส่งออกสินค้าไทยไปอินเดียเดือนมกราคม-กรกฎาคม 2547 สินค้าไทยที่มีมูลค่าการส่งออกไปอินเดียเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 100 มี
9 รายการ ดังนี้
1) เม็ดพลาสติก (HS.3907) - POLYETHER, EXPOXIDE, ET
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากเยอรมัน สัดส่วนร้อยละ 19 มูลค่า 35.754 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากเนเธอร์แลนด์ สัดส่วนร้อยละ 15 มูลค่า 27.989 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากเกาหลีใต้ สัดส่วนร้อยละ 9 มูลค่า 17.191 ล้านเหรียญสหรัฐ
5. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 8 มูลค่า 14.574 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 160.52
(HS.3901) - ETHYLENE, PRIMARY FORM
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากซาอุฯ สัดส่วนร้อยละ 20 มูลค่า 38.057 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากเกาหลีใต้ สัดส่วนร้อยละ 11 มูลค่า 21.314 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากสหรัฐอาหรับฯ สัดส่วนร้อยละ 11 มูลค่า 20.149 ล้านเหรียญสหรัฐ
9. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 5 มูลค่า 9.145 ล้านเหรียญสหรัฐ
ลดลงร้อยละ 5.16
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
2) รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (HS.8703) - PASSENGER MOTOR
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากญี่ปุ่น สัดส่วนร้อยละ 29 มูลค่า 28.553 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากเยอรมัน สัดส่วนร้อยละ 21 มูลค่า 14.540 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากสาธารณรัฐเช็ค สัดส่วนร้อยละ 13 มูลค่า 8.688 ล้านเหรียญสหรัฐ
5. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 6 มูลค่า 4.206 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 1,063.10
(HS.8714) - PART, ACCESS 8711-8713
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากญี่ปุ่น สัดส่วนร้อยละ 33 มูลค่า 5.003 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากไต้หวัน สัดส่วนร้อยละ 22 มูลค่า 3.330 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 16 มูลค่า 2.493 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 231.01
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
3) เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ (HS.72) - IRON AND STEEL
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากอังกฤษ สัดส่วนร้อยละ 10 มูลค่า 151.186 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากเยอรมัน สัดส่วนร้อยละ 10 มูลค่า 146.924 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากรัสเซีย สัดส่วนร้อยละ 14 มูลค่า 2.295 ล้านเหรียญสหรัฐ
17. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 1 มูลค่า 21.511 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.69
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
4) เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ (HS.8517) - LN TELPH, ETC EL APPR
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากสหรัฐฯ สัดส่วนร้อยละ 35 มูลค่า 255.082 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากจีน สัดส่วนร้อยละ 9 มูลค่า 64.934 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากสวีเดน สัดส่วนร้อยละ 7 มูลค่า 52.503 ล้านเหรียญสหรัฐ
16. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 1 มูลค่า 10.265 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 80.60
(HS.8529) - TV / RADR APP PTS
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากจีน สัดส่วนร้อยละ 17 มูลค่า 56.541 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากสหรัฐฯ สัดส่วนร้อยละ 16 มูลค่า 51.858 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากเกาหลีใต้ สัดส่วนร้อยละ 13 มูลค่า 42.499 ล้านเหรียญสหรัฐ
12. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 2 มูลค่า 6.995 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 98.01
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
5) อัญมณีและเครื่องประดับ (HS.7102) - DIAMONS
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากเบลเยี่ยม สัดส่วนร้อยละ 50 มูลค่า 3,242.353 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากอังกฤษ สัดส่วนร้อยละ 20 มูลค่า 1,307.501 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากฮ่องกง สัดส่วนร้อยละ 10 มูลค่า 625.445 ล้านเหรียญสหรัฐ
12. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 0.04 มูลค่า 2.696 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 95.57
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
(HS.7103) - OTH STONES, NOT STRUNG
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากสหรัฐฯ สัดส่วนร้อยละ 24 มูลค่า 17.497 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากแซมเบีย สัดส่วนร้อยละ 15 มูลค่า 11.119 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 12 มูลค่า 8.926 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.07
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
6) เครื่องคอมเพรสเซอร์ของเครื่องทำความเย็น (HS.8414) - AIR REL PUMPS / COMP
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากเกาหลีใต้ สัดส่วนร้อยละ 18 มูลค่า 39.938 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากเยอรมัน สัดส่วนร้อยละ 13 มูลค่า 29.272 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากญี่ปุ่น สัดส่วนร้อยละ 11 มูลค่า 25.867 ล้านเหรียญสหรัฐ
10. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 3.43 มูลค่า 7.738 ล้านเหรียญสหรัฐ
ลดลงร้อยละ 12.24
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
7) เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่นๆ (HS.85) - ELECTRICAL MACHINERY
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากเกาหลีใต้ สัดส่วนร้อยละ 17 มูลค่า 1,081.943 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากจีน สัดส่วนร้อยละ 16 มูลค่า 997.238 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากสหรัฐฯ สัดส่วนร้อยละ 14 มูลค่า 881.988 ล้านเหรียญสหรัฐ
17. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 0.99 มูลค่า 61.858 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.16
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
8) สายไฟฟ้า (HS.8536) - EL AP F SWCH = <1000 V
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากสหรัฐฯ สัดส่วนร้อยละ 16 มูลค่า 29.990 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากเยอรมัน สัดส่วนร้อยละ 14 มูลค่า 26.500 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากฝรั่งเศส สัดส่วนร้อยละ 10 มูลค่า 18.931 ล้านเหรียญสหรัฐ
16. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 1.01 มูลค่า 1.908 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 48.16
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
(HS.8544) - INSUL CABL, WIRE, ETC
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากสหรัฐฯ สัดส่วนร้อยละ 17 มูลค่า 29.056 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากเกาหลีใต้ สัดส่วนร้อยละ 12 มูลค่า 21.671 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากจีน สัดส่วนร้อยละ 11 มูลค่า 19.408 ล้านเหรียญสหรัฐ
13. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 1.01 มูลค่า 3.547 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 163.09
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
9) วงจรพิมพ์ (HS.8534) - PRINTED CIRCUITS
อินเดียนำเข้าอันดับ 1. จากฮ่องกง สัดส่วนร้อยละ 16 มูลค่า 4.878 ล้านเหรียญสหรัฐ
2. จากญี่ปุ่น สัดส่วนร้อยละ 16 มูลค่า 4.812 ล้านเหรียญสหรัฐ
3. จากสหรัฐฯ สัดส่วนร้อยละ 12 มูลค่า 3.570 ล้านเหรียญสหรัฐ
16. จากไทย สัดส่วนร้อยละ 1 มูลค่า 0.300 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 775.52
(ม.ค.-ธ.ค. 2546)
6. การจัดทำข้อตกลงเขตการค้าเสรีไทย : อินเดีย
ความเป็นมา / การดำเนินการ
ความเป็นมา
- เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2003 ได้มีการลงนาม
- กรอบความตกลงจัดตั้งเขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย (FTA Framework Agreement)
กรอบการเจรจา
1.)การค้าสินค้า กำหนดให้เปิดเสรีโดยจะลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ภายในปี 2010
2.) การค้าบริการและการลงทุน ให้ทยอยเปิดเสรีในรายสาขาที่มีความพร้อมก่อน โดยจะเริ่มต้นเจรจารายละเอียดตั้งแต่เดือนมกราคม 2004
3.)การลดภาษีสินค้าบางส่วนทันที (Early Harvest Scheme: EHS) จำนวน 84 รายการ ได้แก่ ผลไม้ (เงาะ ลำไย มังคุด ทุเรียน)
อาหารทะเลกระป๋อง อัญมณี ส่วนประกอบของเครื่องยนต์ พัดลม เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น สำหรับรูปแบบการลดภาษี
ใช้แบบสัดส่วน (Margin of Preferences: MOP) โดยทยอยลดภาษีลงในแต่ละปีในอัตราร้อยละ 50 75 และ 100 ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2004 จนถึง
1 มีนาคม 2006
4.)ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ให้มีการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนในสาขาที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน เช่น
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การท่องเที่ยว สาธารณสุข การเงินและการธนาคาร การก่อสร้าง เป็นต้น
กลไกการเจรจา
- จัดตั้งคณะกรรมการเจรจาการค้าไทย-อินเดีย (India-Thailand Trade Negotiating Committee : TNC) เพื่อเจรจาราย
ละเอียดของการดำเนินการเพื่อเปิดเสรีการค้า สินค้าบริการและการลงทุน
แผนการเจรจา
- เจรจาการเปิดเสรีสินค้าให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม2005
- การค้าบริการ เจรจาให้เสร็จสิ้นภายในไตรมาสแรกของปี 2005 สำหรับการลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เจรจาให้เสร็จสิ้น
ภายในไตรมาสแรกของปี 20
สถานะล่าสุด
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทย นายวัฒนา เมืองสุข และคณะฯ ได้เดินทางเยือนอินเดียในระหว่างวันที่ 29-31 สิงหาคม 2547 เพื่อ
ร่วมหารือข้อราชการกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรมแห่งอินเดีย Mr. Kamal Nath พร้อมทั้งลงนามในพิธีสารแก้ไขกรอบความ
ตกลงเขตการค้าเสรีไทย-อินเดีย ในเรื่องการมีผลบังคับใช้สินค้าภายใต้ Early Harvest Scheme (EHS) จำนวน 82 รายการ ซึ่งเริ่มลดภาษี
ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2547
การประชุมครั้งต่อไป กำหนดระหว่าง วันที่ 20-22 กันยายน 2004 ณ ประเทศไทย
7. ข้อคิดเห็น
ประเทศอินเดียกำลังก้าวขึ้นมามีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากขึ้น มีการปฏิรูปและเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ โดยอินเดียมีนโยบายมองตะวันออก
ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายมองตะวันตกของประเทศไทยคือ อินเดีย เอเซียใต้ และตะวันออกกลาง อินเดียจึงนับเป็นพลังขับเคลื่อนสำคัญทางเศรษฐกิจ
เพราะมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 3 ของเอเซียรองจาก ญี่ปุ่นและจีน ดังนั้นอินเดียน่าจะมีบทบาทสนับสนุนอาเซียนได้มาก
ผู้อำนวยการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย นายสาธิต เซเกิล เปิดเผยว่า อินเดียเป็นตลาดที่น่าสนใจเนื่องจากเป็นตลาดใหญ่ ซึ่งจะทำให้
ไทยสามารถเพิ่มมูลค่าการส่งออกได้มากขึ้น โดยคาดว่าในปี 2547 จะเพิ่มเป็น 2,000 ล้านเหรียญสหรัฐ จากปี 2546 ที่มีมูลค่าการค้า 1,500 ล้าน
เหรียญสหรัฐสำหรับในด้านการลงทุน ไทยควรจะดึงดูดนักลงทุนอินเดียให้หันมาลงทุนในประเทศไทยมากกว่าให้นักลงทุนไทยไปลงทุนที่อินเดีย เนื่องจาก
กฎระเบียบของอินเดียยังไม่มีความแน่นอน
สินค้าเด่นที่น่าจับตามองเมื่อไทยเปิดเสรีการค้ากับอินเดีย
- สินค้าไทยที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรีกับอินเดีย ได้แก่ ชิ้นส่วนอุตสาห-กรรม ชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนเครื่องจักร
กลด้านการเกษตร คอมพิวเตอร์ ปิโตรเคมี พลาสติก ปลาทูน่ากระป๋อง ผลไม้กระป๋อง
- สินค้าของอินเดียที่มีโอกาสเข้ามาทำตลาดในไทยเพิ่มขึ้น ได้แก่ อัญมณี ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์และเคมีภัณฑ์
- สินค้าอัญมณีและเครื่องประดับ จัดเป็นสินค้ากลุ่มหนึ่งใน 82 รายการที่ประเทศไทยกับอินเดียตกลงเร่งลดภาษีระหว่างกัน (early
harvest) โดยวางเป้าหมายจะลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0-5 ภายใน 3 ปี
อินเดียนับเป็นคู่แข่งสำคัญของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย เนื่องจากอินเดียมีต้นทุนวัตถุดิบต่ำเพราะอินเดียมีฐานวัตถุดิบพลอยสี
ในประเทศเป็นจำนวนมากและมีแรงงานราคาถูกรัฐบาลอินเดียได้ให้การสนับสนุนการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมอัญมณีทั้งระบบอย่างเต็มที่ เช่น การเปิด
นิคมอุตสาหกรรมสำหรับรองรับการขยายการลงทุน
ที่มา: http://www.depthai.go.th
-ดท-

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ