สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ยังคงปรับตัวลดลงอีกในบางพื้นที่ จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ความต้องการบริโภคชะลอตัวเนื่องจากกำลังซื้อที่มีไม่มาก แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.12 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 43.34 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.81 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 40.88 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 39.61 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 42.11 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 49.28 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 800 บาท (บวกลบ 40 บาท) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.19 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 48.50 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 4.12
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากมีการควบคุมปริมาณการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการซึ่งส่งออกได้เฉพาะไก่ปรุงสุก ส่วนการบริโภคภายในประเทศยังทรงตัวอยู่ แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 29.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.03 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.13 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 32.18 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 27.74 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 29.48 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 32.87 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 10.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 8.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผผ่านมาร้อยละ 23.53
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.85 ส่วนราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.19
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นในบางพื้นที่ โดยเฉพาะภาคกลางเพราะยังเป็นพื้นที่อยู่ในระหว่างควบคุมยังไม่สามารถเลี้ยงไก่ได้ ความต้องการบริโภคชะลอตัว แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 248 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 244 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.64 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 250 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 263 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 243 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 250 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 25 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 247 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 259 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.63
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 271 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 264 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.65 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 241 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 285 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 269 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 288 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 356 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 324 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.88
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50.73 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 51.62 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 40.88 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 47.30 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.53 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.85 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.49 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.04 บาท ส่วนภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 35 ประจำวันที่ 6-12 กันยายน 2547--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ยังคงปรับตัวลดลงอีกในบางพื้นที่ จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ความต้องการบริโภคชะลอตัวเนื่องจากกำลังซื้อที่มีไม่มาก แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.12 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 43.34 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.81 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 40.88 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 39.61 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 42.11 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 49.28 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 800 บาท (บวกลบ 40 บาท) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.19 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 48.50 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 4.12
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ไก่เนื้อในสัปดาห์นี้ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากมีการควบคุมปริมาณการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการซึ่งส่งออกได้เฉพาะไก่ปรุงสุก ส่วนการบริโภคภายในประเทศยังทรงตัวอยู่ แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 29.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.03 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.13 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 32.18 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 27.74 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 29.48 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 32.87 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 10.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 8.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผผ่านมาร้อยละ 23.53
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.85 ส่วนราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.19
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นในบางพื้นที่ โดยเฉพาะภาคกลางเพราะยังเป็นพื้นที่อยู่ในระหว่างควบคุมยังไม่สามารถเลี้ยงไก่ได้ ความต้องการบริโภคชะลอตัว แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 248 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 244 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.64 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 250 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 263 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 243 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 250 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 25 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 247 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 259 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.63
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 271 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 264 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.65 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 241 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 285 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 269 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 288 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 356 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 324 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.88
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50.73 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 51.62 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 40.88 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 47.30 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.53 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.85 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.49 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 37.04 บาท ส่วนภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 35 ประจำวันที่ 6-12 กันยายน 2547--
-พห-