นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าฯ กทม. ระบุ ข่าวออกมาเข้าใจผิดรถเมล์ด่วนพิเศษถูกเบรก ซึ่งวานนี้ การประชุมร่วมกับ นายนิกร จำนงค์ รมช.คมนาคม ในรายละเอียดได้กรุณาเชิญ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง สนข. ขสมก. กรมการขนส่งทางบก ตำรวจจราจรด้วย
ไม่ได้เบรกแต่เป็นการพูดคุยหารือในรายละเอียด และท่านรัฐมนตรีเองก็ขอความเห็นกับแต่ละหน่วยงาน ซึ่งในเส้น ทางเกษตรนวมินทร์ ไปรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่หมอชิต ประเด็นนี้ทางท่านคำรบรักษ์ ได้พูดถึงแนวทางที่อาจเป็นทางเลือก เพราะว่าในเส้นนั้นจะมีรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่วิ่งจากหมอชิตไปสะพานใหม่ แต่นี่ยังเป็นโครงการระยะยาวที่ทางรัฐบาลกำลังผลักดัน ซึ่งท่านก็บอกว่าถ้ามีรถไฟฟ้า รถเมล์ด่วนพิเศษอาจจะวิ่งมาถึงแค่เฉพาะแยกเกษตรจะดีกว่ามั๊ย กับ สองมี โครงการที่จะเกิดขึ้นคือทางลอดอุโมงค์ สี่แยกตรงแยกเกษตร ซึ่งตรงนี้ผมทราบอยู่แล้วเพราะว่าได้ไปสำรวจเส้นทางมาตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้วและได้ประสานเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าตำรวจจราจร ในพื้นที่และทางบริเวณแยกเกษตรจะมีกรมโยธาธิการทหารบก และได้ประสานพูดคุยกันว่าอาจจะขอเป็นทางเลี้ยวซ้ายเป็นบายพาส ข้อเท็จจริงอาจเป็นการพูดคุยกันและมีความคิดเห็นกันในบางเรื่องในรายละเอียด ทีนีในโครงการนี้ได้เรียนไป 2 เส้นทางคือเกษตรนวมินทร์ กับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ไปหมอชิต และอีกเส้น จากสะพานกรุงเทพ วิ่งพระราม 3 มาถนนนราธิวาส มาเชื่อมรถไฟฟ้าที่ช่องนนทรี ทั้งสองโครงการนี้ในหลักการ ท่านนายกฯ เองอยากผลักดันทั้งสองเส้นทางเลยและทำให้เสร็จก่อน1 ปี และแนวทางให้หารือกับ ทางขสมก.และสนข.ว่า รายละเอียดขสมก.ที่ประสบการณ์เดินรถอยู่แล้วเราอาจจะเอารถเมล์ที่มีอยู่ ที่สภาพใหม่ มาปรับ เรื่องประตูรถ ปกติอยู่ทางซ้าย จะทำเป็นทางขวาได้มั๊ยและทำเป็นขบวนตามโครงการที่ตั้งใจไว้
จะมีสะพานลอย ข้ามตรงบริเวณสถานี และเราจะดูว่าในเส้นทางทั้งหมด จะมีสถานีในจุดไหน และถ้ามีสถานีจะมีสะพานลอยข้ามมา และนี่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการอยู่แล้ว เวลาเราวิ่งรถเมล์ด่วนพิเศษ ตรงเกาะกลางจะมีสถานี ซึ่งในบริเวณสถานีจะมีสะพานลอยให้คนข้ามมาด้วย
ผมเรียนว่า โครงการระบบขนส่งมวลชนทั้งรถไฟฟ้าหรือรถเมล์ด่วนพิเศษ จะเป็นทางเลือกให้คนที่ใช้รถอยู่หันมาใช้ขนส่งมวลชนหมายความว่าถ้าเรามีรถเมล์ด่วนพิเศษ บีอาร์ที และมีคุณภาพมาตรฐานที่ดีและวิ่งได้เร็ว คน ที่ใช้รถอยู่จะหันมาใช้รถเมล์ด่วนปริมาณรถ ต้องลดน้อยลงด้วย ผมคิดว่า เรายังมีความรู้สึกเดิมๆ ว่าถ้าเราเสียเลนการจราจรไปหนึ่งเลน ปริมาณพื้นผิวน้อยลง รถมีปริมาณเท่าเดิม รถจะติดมากขึ้น แต่จริงๆ ต้องเปลี่ยนแนวความคิด การที่เราผลักดันเรื่องเมล์ด่วนพิเศษ เป็นเรื่องของคนที่ใช้รถอยู่มีทางเลือกเหมือนปัจจุบันเวลาคนขับรถแทนที่จะฝ่าจราจรรถติด ก็เอารถไปจอดแล้วนั่งรถไฟฟ้าไป
มีครับ มันเหมือนระบบรถไฟฟ้าเพียงแต่ว่าวิงโดยล้อยางปริมาณผู้โดยสารสามารถขนส่งคนได้มากกว่าเฉลี่ยประมาณ 1 หมื่นคนต่อชั่วโมง เมื่อเทียบกับระบบรถเมล์ ประมาณ พันกว่าคนเอง
ไม่เลย ต้องกั้น เป็นเลนเฉพาะรถเมล์ด่วนพิเศษ ผมเรียนในระยะยาวนิดหนึ่งความจริงเราผลักดันเสนอไป 10 เส้นทาง แต่ละเส้นทางจะเชื่อมต่อสถานีรถไฟฟ้า เพียงแต่นายกฯบอกว่า อยากให้ลองทำ 2 เส้นทางก่อนแล้วเปรียบเทียบด้วย และนี่ก็เป็นเรื่องที่ในกรอบ 3เดือนที่จะมีการพูดคุยกันในรายละเอียด จริงๆเมื่อวานเป็นการประชุมครั้งแรก และทุกฝ่ายเข้ามาร่วมกันและมีความคิดเห็นในหลายเรื่อง ความจริงไม่ใช่ถูกเบรกเพื่อไปศึกษาในรายละเอียดเพราะว่าไม่พร้อม ไม่ใช่นะครับ ความจริงโครงการ 1 ปี ที่ได้เสนอจะมีระยะเวลา 3 เดือนซึ่งตจะต้องทำงานกันในรายละเอียดนี่เป็นจุดเริ่มต้นแค่การประชุมครั้งแรกเมื่อวาน
ทีมโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ 14 ก.ย. 2547--จบ--
-ดท-
ไม่ได้เบรกแต่เป็นการพูดคุยหารือในรายละเอียด และท่านรัฐมนตรีเองก็ขอความเห็นกับแต่ละหน่วยงาน ซึ่งในเส้น ทางเกษตรนวมินทร์ ไปรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่หมอชิต ประเด็นนี้ทางท่านคำรบรักษ์ ได้พูดถึงแนวทางที่อาจเป็นทางเลือก เพราะว่าในเส้นนั้นจะมีรถไฟฟ้าบีทีเอส ที่วิ่งจากหมอชิตไปสะพานใหม่ แต่นี่ยังเป็นโครงการระยะยาวที่ทางรัฐบาลกำลังผลักดัน ซึ่งท่านก็บอกว่าถ้ามีรถไฟฟ้า รถเมล์ด่วนพิเศษอาจจะวิ่งมาถึงแค่เฉพาะแยกเกษตรจะดีกว่ามั๊ย กับ สองมี โครงการที่จะเกิดขึ้นคือทางลอดอุโมงค์ สี่แยกตรงแยกเกษตร ซึ่งตรงนี้ผมทราบอยู่แล้วเพราะว่าได้ไปสำรวจเส้นทางมาตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้วและได้ประสานเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าตำรวจจราจร ในพื้นที่และทางบริเวณแยกเกษตรจะมีกรมโยธาธิการทหารบก และได้ประสานพูดคุยกันว่าอาจจะขอเป็นทางเลี้ยวซ้ายเป็นบายพาส ข้อเท็จจริงอาจเป็นการพูดคุยกันและมีความคิดเห็นกันในบางเรื่องในรายละเอียด ทีนีในโครงการนี้ได้เรียนไป 2 เส้นทางคือเกษตรนวมินทร์ กับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ไปหมอชิต และอีกเส้น จากสะพานกรุงเทพ วิ่งพระราม 3 มาถนนนราธิวาส มาเชื่อมรถไฟฟ้าที่ช่องนนทรี ทั้งสองโครงการนี้ในหลักการ ท่านนายกฯ เองอยากผลักดันทั้งสองเส้นทางเลยและทำให้เสร็จก่อน1 ปี และแนวทางให้หารือกับ ทางขสมก.และสนข.ว่า รายละเอียดขสมก.ที่ประสบการณ์เดินรถอยู่แล้วเราอาจจะเอารถเมล์ที่มีอยู่ ที่สภาพใหม่ มาปรับ เรื่องประตูรถ ปกติอยู่ทางซ้าย จะทำเป็นทางขวาได้มั๊ยและทำเป็นขบวนตามโครงการที่ตั้งใจไว้
จะมีสะพานลอย ข้ามตรงบริเวณสถานี และเราจะดูว่าในเส้นทางทั้งหมด จะมีสถานีในจุดไหน และถ้ามีสถานีจะมีสะพานลอยข้ามมา และนี่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการอยู่แล้ว เวลาเราวิ่งรถเมล์ด่วนพิเศษ ตรงเกาะกลางจะมีสถานี ซึ่งในบริเวณสถานีจะมีสะพานลอยให้คนข้ามมาด้วย
ผมเรียนว่า โครงการระบบขนส่งมวลชนทั้งรถไฟฟ้าหรือรถเมล์ด่วนพิเศษ จะเป็นทางเลือกให้คนที่ใช้รถอยู่หันมาใช้ขนส่งมวลชนหมายความว่าถ้าเรามีรถเมล์ด่วนพิเศษ บีอาร์ที และมีคุณภาพมาตรฐานที่ดีและวิ่งได้เร็ว คน ที่ใช้รถอยู่จะหันมาใช้รถเมล์ด่วนปริมาณรถ ต้องลดน้อยลงด้วย ผมคิดว่า เรายังมีความรู้สึกเดิมๆ ว่าถ้าเราเสียเลนการจราจรไปหนึ่งเลน ปริมาณพื้นผิวน้อยลง รถมีปริมาณเท่าเดิม รถจะติดมากขึ้น แต่จริงๆ ต้องเปลี่ยนแนวความคิด การที่เราผลักดันเรื่องเมล์ด่วนพิเศษ เป็นเรื่องของคนที่ใช้รถอยู่มีทางเลือกเหมือนปัจจุบันเวลาคนขับรถแทนที่จะฝ่าจราจรรถติด ก็เอารถไปจอดแล้วนั่งรถไฟฟ้าไป
มีครับ มันเหมือนระบบรถไฟฟ้าเพียงแต่ว่าวิงโดยล้อยางปริมาณผู้โดยสารสามารถขนส่งคนได้มากกว่าเฉลี่ยประมาณ 1 หมื่นคนต่อชั่วโมง เมื่อเทียบกับระบบรถเมล์ ประมาณ พันกว่าคนเอง
ไม่เลย ต้องกั้น เป็นเลนเฉพาะรถเมล์ด่วนพิเศษ ผมเรียนในระยะยาวนิดหนึ่งความจริงเราผลักดันเสนอไป 10 เส้นทาง แต่ละเส้นทางจะเชื่อมต่อสถานีรถไฟฟ้า เพียงแต่นายกฯบอกว่า อยากให้ลองทำ 2 เส้นทางก่อนแล้วเปรียบเทียบด้วย และนี่ก็เป็นเรื่องที่ในกรอบ 3เดือนที่จะมีการพูดคุยกันในรายละเอียด จริงๆเมื่อวานเป็นการประชุมครั้งแรก และทุกฝ่ายเข้ามาร่วมกันและมีความคิดเห็นในหลายเรื่อง ความจริงไม่ใช่ถูกเบรกเพื่อไปศึกษาในรายละเอียดเพราะว่าไม่พร้อม ไม่ใช่นะครับ ความจริงโครงการ 1 ปี ที่ได้เสนอจะมีระยะเวลา 3 เดือนซึ่งตจะต้องทำงานกันในรายละเอียดนี่เป็นจุดเริ่มต้นแค่การประชุมครั้งแรกเมื่อวาน
ทีมโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ 14 ก.ย. 2547--จบ--
-ดท-