นายสมชัย สัจจพงษ์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวง การคลัง ได้แถลงผลการจัดเก็บรายได้
รวมของรัฐบาลประจำเดือนสิงหาคม 2547 และในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2547 ซึ่งขณะนี้จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมายทั้งปี
(1,063,600 ล้านบาท) พร้อมทั้งคาดการณ์แนวโน้มการจัดเก็บรายได้รัฐบาลปีงบประมาณ 2547 ดังนี้
1. เดือนสิงหาคม 2547 การจัดเก็บรายได้รัฐบาลสูงกว่าทุกเดือนที่ผ่านมา โดยจัดเก็บได้สุทธิ 144,532 ล้านบาท สูงกว่าประ
มาณการ 16,913 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.3 (สูงกว่าเดือนเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 35.1) เนื่องจากการจัดเก็บรายได้ของกรมสรร
พากรและกรมศุลกากรจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการถึงร้อยละ 20.4 และร้อยละ 5.2 ตามลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายได้ของกรมสรรพากร
ทั้งนี้เนื่องจากเป็นเดือนสุดท้ายของการชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำไรสุทธิรอบครึ่งปีบัญชี 2547 และปรากฏว่ามีผู้มายื่นเสียภาษีสูงกว่าที่คาด
ไว้มาก รวมทั้งการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มยังคงขยายตัวในอัตราที่สูงอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
- ภาษีเงินได้นิติบุคคล จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 11,121 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.3
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 5,380 ล้านบาท หรือร้อยละ 24.4
ส่วนกรมสรรพสามิตจัดเก็บได้ต่ำกว่าประมาณการ 1,335 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.2 เนื่องจากภาษียาสูบและภาษีสุราจัดเก็บได้ต่ำ
กว่าคาดไว้
2. ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2547 (ตุลาคม 2546 - สิงหาคม 2547)
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,065,838 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 69,018 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.9 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปี
ที่แล้วร้อยละ 18.4) และสูงกว่าประมาณทั้งปี (1,063,600 ล้านบาท) 2,238 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.2 โดยได้มีการจัดสรรภาษีมูลค่า
เพิ่มให้ อปท. ตาม พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจฯ ไปแล้วจำนวน 22,138 ล้านบาท สูงกว่าปีที่แล้วจำนวน 3,240 ล้านบาท
หรือ ร้อยละ 17.1
ผลการจัดเก็บรายได้สรุปตามหน่วยงานจัดเก็บได้ ดังนี้
2.1 กรมสรรพากร จัดเก็บได้รวม 720,243 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 67,262 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.3 (สูง
กว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 27.0) เนื่องจากภาษีทุกประเภทจัดเก็บได้สูงกว่าที่คาดไว้ ที่สำคัญได้แก่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม
และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 22,844 20,971 และ 10,489 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.0 7.9 และ
9.2 ตามลำดับ (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 35.8 21.1 และ 15.3 ตามลำดับ)
2.2 กรมสรรพสามิต จัดเก็บได้รวม 252,627 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 3,534 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.4 (สูงกว่าช่วง
เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 11.6) เนื่องจากการจัดเก็บภาษีส่วนใหญ่ สูงกว่าที่คาดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษีรถยนต์ ภาษียาสูบ และภาษี
โทรคมนาคม จัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการ 2,749 950 และ 913 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.8 3.1 และ 8.6 ตามลำดับ (สูงกว่าช่วง
เดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 15.5 5.0 และ 110.5 ตามลำดับ)
2.3 กรมศุลกากร จัดเก็บได้รวม 96,270 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 2,104 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.2 (ต่ำกว่าช่วง
เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.1) โดยอากรขาเข้าซึ่งเป็นรายได้หลักจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 2,114 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.3 แต่ต่ำ
กว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.8 ทั้งนี้ เป็นผลจากการปรับโครงสร้างภาษีศุลกากร และการปรับลดอัตราอากรขาเข้าจากการเปิดเขต
การค้าเสรี (FTA)
2.4 หน่วยงานอื่น นำส่งรายได้รวม 133,806 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 5,303 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.1 (สูงกว่า
ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 19.1) เนื่องจากรัฐวิสาหกิจนำส่งรายได้ สูงกว่าประมาณการ 3,080 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.3 โดยรัฐ
วิสาหกิจที่นำส่งรายได้ที่สำคัญ ได้แก่
- การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 10,541 ล้านบาท
- บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) 9,396 ล้านบาท
- สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล 8,125 ล้านบาท
- บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 5,871 ล้านบาท
- บริษัท ทศท. คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 4,500 ล้านบาท
3. สรุป
การจัดเก็บรายได้สุทธิของรัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกที่ผ่านมา บรรลุผลเกินเป้าหมาย โดยสูงกว่าเป้าหมายทั้งปี (1,063,600
ล้านบาท) ร้อยละ 0.2 ทั้งนี้เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลังจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการถึง 72,900
ล้านบาท หรือร้อยละ 7.3 โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรมสรรพากร รองลงมาได้แก่ กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร ตลอดจนการนำส่งรายได้
ของส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ และรัฐวิสาหกิจ ยังสูงกว่าประมาณการอีกเช่นกัน
ทั้งนี้ ผลการจัดเก็บรายได้ดังกล่าวเมื่อจำแนกตามฐานภาษีปรากฏว่า ภาษีที่จัดเก็บจากฐานรายได้ และฐานการบริโภคจัดเก็บได้
สูงกว่าประมาณการร้อยละ 11.4 และ 4.8 ตามลำดับ และสูงกว่าปีที่แล้วถึงร้อยละ 30.6 และ 16.4 ตามลำดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการ
ขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจในปีนี้ยังคงมีทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง
4. การคาดการณ์รายได้ของรัฐบาลปีงบประมาณ 2547
จากผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลใน 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2547 คาดว่าปีงบประมาณ 2547 รัฐบาลจะมีรายได้สุทธิประ
มาณ 1,117,100 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 53,500 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 และสูงกว่าปีที่แล้วร้อยละ 15.4 ซึ่งส่งผลให้การกู้ยืม
เงินเพื่อชดเชย การขาดดุลของรัฐบาลต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ (99,900 ล้านบาท)
ตารางที่ 2
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ต้นปีงบประมาณถึงสิ้นเดือนสิงหาคม 2547 1/
( ตุลาคม 2546 - สิงหาคม 2547 )
หน่วย : ล้านบาท
เทียบปีนี้กับปีที่แล้ว
ที่มาของรายได้ ปีนี้ ปีที่แล้ว จำนวน ร้อยละ งปม.ทั้งปีเท่ากับ จำนวน ร้อยละ ทั้งปีเท่ากับ จำนวน ร้อยละ
928,100 ลบ. 1,063,600 ลบ.
1. กรมสรรพากร 720,243 567,009 153,234 27.0 652,981 67,262 10.3
1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 124,494 107,964 16,530 15.3 114,005 10,489 9.2
1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 252,398 185,805 66,593 35.8 229,554 22,844 10.0
1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 31,574 18,937 12,637 66.7 23,000 8,574 37.3
1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 287,320 237,350 49,970 21.1 266,349 20,971 7.9
1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 17,958 11,831 6,127 51.8 14,737 3,221 21.9
1.6 อากรแสตมป์ 6,243 4,812 1,431 29.7 5,189 1,054 20.3
1.7 อื่นๆ 256 310 (54) (17.4) 147 109 74.1
2. กรมสรรพสามิต 252,627 226,343 26,284 11.6 249,093 3,534 1.4
2.1 ภาษีน้ำมันฯ 70,742 67,043 3,699 5.5 70,883 (141) (0.2)
2.2 ภาษียาสูบ 31,939 30,423 1,516 5.0 30,989 950 3.1
2.3 ภาษีสุราฯ 24,617 23,877 740 3.1 24,598 19 0.1
2.4 ภาษีเบียร์ 38,949 34,288 4,661 13.6 40,309 (1,360) (3.4)
2.5 ภาษีรถยนต์ 60,124 52,069 8,055 15.5 57,375 2,749 4.8
2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 8,562 8,027 535 6.7 8,646 (84) (1.0)
2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2,676 2,171 505 23.3 2,515 161 6.4
2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,521 1,468 53 3.6 1,461 60 4.1
2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 705 530 175 33.0 569 136 23.9
2.10 ภาษีโทรคมนาคม 11,569 5,497 6,072 110.5 10,656 913 8.6
2.11 ภาษีอื่น2/ 911 725 186 25.7 867 44 5.1
2.12 รายได้อื่น 312 225 87 38.7 225 87 38.7
3. กรมศุลกากร 96,270 101,471 (5,201) (5.1) 94,166 2,104 2.2
3.1 อากรขาเข้า 94,188 99,946 (5,758) (5.8) 92,074 2,114 2.3
3.2 อากรขาออก 240 196 44 22.4 226 14 6.2
3.3 รายได้อื่น 1,842 1,329 513 38.6 1,866 (24) (1.3)
รวมรายได้ 3 กรม 1,069,140 894,823 174,317 19.5 996,240 72,900 7.3
4. หน่วยงานอื่น 133,806 112,364 21,442 19.1 128,503 5,303 4.1
4.1 ส่วนราชการอื่น 48,2573/ 48,102 155 0.3 46,420 1,837 4.0
4.2 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนรวมวายุภักษ์ - - -
4.2 กรมธนารักษ์ 2,672 3,505 (833) (23.8) 2,286 386 16.9
4.3 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนรวมวายุภักษ์ 25,075 - 25,075 - 25,075 - -
4.4 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 6,000 - 6,000 - 6,000 - -
4.5 รัฐวิสาหกิจ 51,802 60,757 (8,955) (14.7) 48,722 3,080 6.3
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross) 1,202,946 1,007,187 195,759 19.4 1,124,743 78,203 7.0
หัก
1. คืนภาษีของกรมสรรพากร 99,4333/ 73,939 25,494 34.5 90,963 8,470 9.3
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม 81,644 63,631 18,013 28.3 78,191 3,453 4.4
- ภาษีอื่นๆ 17,789 10,308 7,481 72.6 12,772 5,017 39.3
2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 5,788 4,580 1,208 26.4 5,407 381 7.0
3. เงินกันชดเชยภาษีสำหรับสินค้าส่งออก 9,749 9,254 495 5.3 9,415 334 3.5
รวมรายได้สุทธิ (Net) 4/ 1,087,976 919,414 168,562 18.3 1,018,958 69,018 6.8
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กำหนดแผนฯ 22,138 18,898 3,240 17.1 22,138 - - 2,238
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว 1,065,838 900,516 165,322 18.4 996,820 69,018 6.9 0.21
หมายเหตุ
1/ ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 6 กันยายน 2547
2/ ภาษีไพ่ ภาษีแก้วฯ ภาษีเครื่องหอม ภาษีเรือ ภาษีพรม ภาษีสนามม้า ภาษีสนามกอล์ฟ ภาษีสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน
ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ำหรืออบตัวและนวด
3/ เดือนตุลาคม 2546 - กรกฎาคม 2547 เป็นตัวเลขจริง เดือนสิงหาคม 2547 เป็นตัวเลขคาดการณ์
4/ เป็นรายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท.
ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง สคร. และสำนักงบประมาณ
ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร
จัดทำโดย : กลุ่มนโยบายการคลังและงบประมาณ สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
--ข่าวกระทรวงการคลัง กลุ่มการประชาสัมพันธ์ สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 72/2547 15 กันยายน 2547--
รวมของรัฐบาลประจำเดือนสิงหาคม 2547 และในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2547 ซึ่งขณะนี้จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมายทั้งปี
(1,063,600 ล้านบาท) พร้อมทั้งคาดการณ์แนวโน้มการจัดเก็บรายได้รัฐบาลปีงบประมาณ 2547 ดังนี้
1. เดือนสิงหาคม 2547 การจัดเก็บรายได้รัฐบาลสูงกว่าทุกเดือนที่ผ่านมา โดยจัดเก็บได้สุทธิ 144,532 ล้านบาท สูงกว่าประ
มาณการ 16,913 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.3 (สูงกว่าเดือนเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 35.1) เนื่องจากการจัดเก็บรายได้ของกรมสรร
พากรและกรมศุลกากรจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการถึงร้อยละ 20.4 และร้อยละ 5.2 ตามลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายได้ของกรมสรรพากร
ทั้งนี้เนื่องจากเป็นเดือนสุดท้ายของการชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำไรสุทธิรอบครึ่งปีบัญชี 2547 และปรากฏว่ามีผู้มายื่นเสียภาษีสูงกว่าที่คาด
ไว้มาก รวมทั้งการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มยังคงขยายตัวในอัตราที่สูงอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
- ภาษีเงินได้นิติบุคคล จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 11,121 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.3
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 5,380 ล้านบาท หรือร้อยละ 24.4
ส่วนกรมสรรพสามิตจัดเก็บได้ต่ำกว่าประมาณการ 1,335 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.2 เนื่องจากภาษียาสูบและภาษีสุราจัดเก็บได้ต่ำ
กว่าคาดไว้
2. ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2547 (ตุลาคม 2546 - สิงหาคม 2547)
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,065,838 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 69,018 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.9 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปี
ที่แล้วร้อยละ 18.4) และสูงกว่าประมาณทั้งปี (1,063,600 ล้านบาท) 2,238 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.2 โดยได้มีการจัดสรรภาษีมูลค่า
เพิ่มให้ อปท. ตาม พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจฯ ไปแล้วจำนวน 22,138 ล้านบาท สูงกว่าปีที่แล้วจำนวน 3,240 ล้านบาท
หรือ ร้อยละ 17.1
ผลการจัดเก็บรายได้สรุปตามหน่วยงานจัดเก็บได้ ดังนี้
2.1 กรมสรรพากร จัดเก็บได้รวม 720,243 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 67,262 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.3 (สูง
กว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 27.0) เนื่องจากภาษีทุกประเภทจัดเก็บได้สูงกว่าที่คาดไว้ ที่สำคัญได้แก่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม
และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 22,844 20,971 และ 10,489 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.0 7.9 และ
9.2 ตามลำดับ (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 35.8 21.1 และ 15.3 ตามลำดับ)
2.2 กรมสรรพสามิต จัดเก็บได้รวม 252,627 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 3,534 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.4 (สูงกว่าช่วง
เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 11.6) เนื่องจากการจัดเก็บภาษีส่วนใหญ่ สูงกว่าที่คาดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษีรถยนต์ ภาษียาสูบ และภาษี
โทรคมนาคม จัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการ 2,749 950 และ 913 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.8 3.1 และ 8.6 ตามลำดับ (สูงกว่าช่วง
เดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 15.5 5.0 และ 110.5 ตามลำดับ)
2.3 กรมศุลกากร จัดเก็บได้รวม 96,270 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 2,104 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.2 (ต่ำกว่าช่วง
เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.1) โดยอากรขาเข้าซึ่งเป็นรายได้หลักจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 2,114 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.3 แต่ต่ำ
กว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.8 ทั้งนี้ เป็นผลจากการปรับโครงสร้างภาษีศุลกากร และการปรับลดอัตราอากรขาเข้าจากการเปิดเขต
การค้าเสรี (FTA)
2.4 หน่วยงานอื่น นำส่งรายได้รวม 133,806 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 5,303 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.1 (สูงกว่า
ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 19.1) เนื่องจากรัฐวิสาหกิจนำส่งรายได้ สูงกว่าประมาณการ 3,080 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.3 โดยรัฐ
วิสาหกิจที่นำส่งรายได้ที่สำคัญ ได้แก่
- การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 10,541 ล้านบาท
- บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) 9,396 ล้านบาท
- สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล 8,125 ล้านบาท
- บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 5,871 ล้านบาท
- บริษัท ทศท. คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 4,500 ล้านบาท
3. สรุป
การจัดเก็บรายได้สุทธิของรัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกที่ผ่านมา บรรลุผลเกินเป้าหมาย โดยสูงกว่าเป้าหมายทั้งปี (1,063,600
ล้านบาท) ร้อยละ 0.2 ทั้งนี้เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลังจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการถึง 72,900
ล้านบาท หรือร้อยละ 7.3 โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรมสรรพากร รองลงมาได้แก่ กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร ตลอดจนการนำส่งรายได้
ของส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ และรัฐวิสาหกิจ ยังสูงกว่าประมาณการอีกเช่นกัน
ทั้งนี้ ผลการจัดเก็บรายได้ดังกล่าวเมื่อจำแนกตามฐานภาษีปรากฏว่า ภาษีที่จัดเก็บจากฐานรายได้ และฐานการบริโภคจัดเก็บได้
สูงกว่าประมาณการร้อยละ 11.4 และ 4.8 ตามลำดับ และสูงกว่าปีที่แล้วถึงร้อยละ 30.6 และ 16.4 ตามลำดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการ
ขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจในปีนี้ยังคงมีทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง
4. การคาดการณ์รายได้ของรัฐบาลปีงบประมาณ 2547
จากผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลใน 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2547 คาดว่าปีงบประมาณ 2547 รัฐบาลจะมีรายได้สุทธิประ
มาณ 1,117,100 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 53,500 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 และสูงกว่าปีที่แล้วร้อยละ 15.4 ซึ่งส่งผลให้การกู้ยืม
เงินเพื่อชดเชย การขาดดุลของรัฐบาลต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ (99,900 ล้านบาท)
ตารางที่ 2
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ต้นปีงบประมาณถึงสิ้นเดือนสิงหาคม 2547 1/
( ตุลาคม 2546 - สิงหาคม 2547 )
หน่วย : ล้านบาท
เทียบปีนี้กับปีที่แล้ว
ที่มาของรายได้ ปีนี้ ปีที่แล้ว จำนวน ร้อยละ งปม.ทั้งปีเท่ากับ จำนวน ร้อยละ ทั้งปีเท่ากับ จำนวน ร้อยละ
928,100 ลบ. 1,063,600 ลบ.
1. กรมสรรพากร 720,243 567,009 153,234 27.0 652,981 67,262 10.3
1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 124,494 107,964 16,530 15.3 114,005 10,489 9.2
1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 252,398 185,805 66,593 35.8 229,554 22,844 10.0
1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 31,574 18,937 12,637 66.7 23,000 8,574 37.3
1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 287,320 237,350 49,970 21.1 266,349 20,971 7.9
1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 17,958 11,831 6,127 51.8 14,737 3,221 21.9
1.6 อากรแสตมป์ 6,243 4,812 1,431 29.7 5,189 1,054 20.3
1.7 อื่นๆ 256 310 (54) (17.4) 147 109 74.1
2. กรมสรรพสามิต 252,627 226,343 26,284 11.6 249,093 3,534 1.4
2.1 ภาษีน้ำมันฯ 70,742 67,043 3,699 5.5 70,883 (141) (0.2)
2.2 ภาษียาสูบ 31,939 30,423 1,516 5.0 30,989 950 3.1
2.3 ภาษีสุราฯ 24,617 23,877 740 3.1 24,598 19 0.1
2.4 ภาษีเบียร์ 38,949 34,288 4,661 13.6 40,309 (1,360) (3.4)
2.5 ภาษีรถยนต์ 60,124 52,069 8,055 15.5 57,375 2,749 4.8
2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 8,562 8,027 535 6.7 8,646 (84) (1.0)
2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2,676 2,171 505 23.3 2,515 161 6.4
2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,521 1,468 53 3.6 1,461 60 4.1
2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 705 530 175 33.0 569 136 23.9
2.10 ภาษีโทรคมนาคม 11,569 5,497 6,072 110.5 10,656 913 8.6
2.11 ภาษีอื่น2/ 911 725 186 25.7 867 44 5.1
2.12 รายได้อื่น 312 225 87 38.7 225 87 38.7
3. กรมศุลกากร 96,270 101,471 (5,201) (5.1) 94,166 2,104 2.2
3.1 อากรขาเข้า 94,188 99,946 (5,758) (5.8) 92,074 2,114 2.3
3.2 อากรขาออก 240 196 44 22.4 226 14 6.2
3.3 รายได้อื่น 1,842 1,329 513 38.6 1,866 (24) (1.3)
รวมรายได้ 3 กรม 1,069,140 894,823 174,317 19.5 996,240 72,900 7.3
4. หน่วยงานอื่น 133,806 112,364 21,442 19.1 128,503 5,303 4.1
4.1 ส่วนราชการอื่น 48,2573/ 48,102 155 0.3 46,420 1,837 4.0
4.2 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนรวมวายุภักษ์ - - -
4.2 กรมธนารักษ์ 2,672 3,505 (833) (23.8) 2,286 386 16.9
4.3 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนรวมวายุภักษ์ 25,075 - 25,075 - 25,075 - -
4.4 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 6,000 - 6,000 - 6,000 - -
4.5 รัฐวิสาหกิจ 51,802 60,757 (8,955) (14.7) 48,722 3,080 6.3
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross) 1,202,946 1,007,187 195,759 19.4 1,124,743 78,203 7.0
หัก
1. คืนภาษีของกรมสรรพากร 99,4333/ 73,939 25,494 34.5 90,963 8,470 9.3
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม 81,644 63,631 18,013 28.3 78,191 3,453 4.4
- ภาษีอื่นๆ 17,789 10,308 7,481 72.6 12,772 5,017 39.3
2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 5,788 4,580 1,208 26.4 5,407 381 7.0
3. เงินกันชดเชยภาษีสำหรับสินค้าส่งออก 9,749 9,254 495 5.3 9,415 334 3.5
รวมรายได้สุทธิ (Net) 4/ 1,087,976 919,414 168,562 18.3 1,018,958 69,018 6.8
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กำหนดแผนฯ 22,138 18,898 3,240 17.1 22,138 - - 2,238
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว 1,065,838 900,516 165,322 18.4 996,820 69,018 6.9 0.21
หมายเหตุ
1/ ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 6 กันยายน 2547
2/ ภาษีไพ่ ภาษีแก้วฯ ภาษีเครื่องหอม ภาษีเรือ ภาษีพรม ภาษีสนามม้า ภาษีสนามกอล์ฟ ภาษีสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน
ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้ำหรืออบตัวและนวด
3/ เดือนตุลาคม 2546 - กรกฎาคม 2547 เป็นตัวเลขจริง เดือนสิงหาคม 2547 เป็นตัวเลขคาดการณ์
4/ เป็นรายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท.
ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง สคร. และสำนักงบประมาณ
ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร
จัดทำโดย : กลุ่มนโยบายการคลังและงบประมาณ สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
--ข่าวกระทรวงการคลัง กลุ่มการประชาสัมพันธ์ สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 72/2547 15 กันยายน 2547--