บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔
ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๒๙ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธาน
สภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรขึ้นบัลลังก์
และกล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่างๆ ดังนี้
๑. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่
๑๓ กันยายน ๒๕๔๗ ได้พิจารณาและรับทราบร่างแผนปฏิบัติการเพื่อกำหนดขั้นตอนการ
กระจายอำนาจทางการเงิน การคลัง และงบประมาณให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น และร่างแผนปฏิบัติการถ่ายโอนบุคลากรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๒. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณา
ให้คำรับรอง จำนวน ๖ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระผู้บริโภค พ.ศ. ….
ซึ่ง นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติคนพิการ พ.ศ. …. ซึ่ง นายวิสิทธิ์
พิทยาภรณ์ เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ พ.ศ. ….
ซึ่ง นายสุวโรช พะลัง กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการใช้สารและวิธีการต้องห้าม
ทางการกีฬา พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติภาพยนตร์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายจำรัส
เวียงสงค์ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติกองทุนส่งเสริมภาพยนตร์ พ.ศ. ….
ซึ่ง นายจำรัส เวียงสงค์ เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้
ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน ตามมติ
ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอทองผาภูมิ
จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๑)
๒. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อน
ขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๓. ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อน
ขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ ทั้งนี้ที่ประชุมได้ลงมติเห็นชอบ
ด้วยกับข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการฯ ที่พิจารณาร่างพระราชบัญญัติพัฒนา
การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. …. และร่างพระราชบัญญัติการบริหาร
หนี้สาธารณะ พ.ศ. …. เพื่อแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีด้วย โดยในระหว่างการพิจารณา
ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. …. รองประธานสภาผู้แทนราษฎร
คนที่สองได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
๔. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังได้แถลงหลักการและเหตุผล
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติ
ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นางสาวสุภา ปิยะจิตติ
๓. นายมนัส แจ่มเวหา ๔. นายวิสิฐ ตันติสุนทร
๕. นายชนิสร์ คล้ายสังข์ ๖. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร
๗. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๘. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายสง่า จงเพิ่มดำรงชัย
๑๑. นายสามารถ แก้วมีชัย ๑๒. นายสัญชัย วงษ์สุนทร
๑๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๑๖. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๗. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๑๘. นายจำรัส เวียงสงค์
๑๙. นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต ๒๐. นายนัจมุดดีน อูมา
๒๑. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล ๒๒. นายประแสง มงคลศิริ
๒๓. นายธราพงษ์ สีลาวงษ์ ๒๔. นางสาววรวรรณ ปลั่งศรีสกุล
๒๕. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๖. นายบรรจง พงศ์ศาสตร์
๒๗. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๒๘. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๒๙. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๓๐. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
๓๑. นายจุติ ไกรฤกษ์ ๓๒. นายศิริโชค โสภา
๓๓. นายธนญ ตันติสุนทร ๓๔. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร
๓๕. ว่าที่ร้อยตรี เจริญศักดิ์ เอกสมาธิกุล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๓๐ วัน
๕. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๕)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นายสาธิต รังคสิริ
๓. นายมานิต นิธิประทีป ๔. นายพิพัฒน์ วรมาลี
๕. นางณัฐนันทน์ อัศวเลิศศักดิ์ ๖. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายสง่า จงเพิ่มดำรงชัย
๑๑. นายสามารถ แก้วมีชัย ๑๒. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
๑๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๔. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๕. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๑๖. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๗. นางสาวปาริชาติ ชาลีเครือ ๑๘. นายไพจิต ศรีวรขาน
๑๙. นายอารักษ์ ไชยริปู ๒๐. นายมุข สุไลมาน
๒๑. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ ๒๒. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๒๓. นางสาววรวรรณ ปลั่งศรีสกุล ๒๔. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๕. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๖. นายบรรจง พงศ์ศาสตร์
๒๗. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๒๘. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๒๙. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๓๐. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
๓๑. นายจุติ ไกรฤกษ์ ๓๒. นายศิริโชค โสภา
๓๓. นายธนญ ตันติสุนทร ๓๔. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓๕. พลเอก กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุม
เพื่อขอนำเรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา จากผู้แทน
ของพรรคการเมือง ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๖๑
(ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๕) ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ที่ประชุมได้มีมติเลือกกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
ตามสัดส่วนของพรรคการเมืองที่มีสมาชิกอยู่ในสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๙ คน
ประกอบเป็นคณะกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ตามข้อบังคับฯ
ข้อ ๑๖๑ คณะกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา จำนวน ๓๑ คน
ประกอบด้วย
๑. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๒. นายโสภณ เพชรสว่าง
๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๔. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๕. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๗. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์ ๘. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
๙. นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ ๑๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๑. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๒. นายภาคิน สมมิตร
๑๓. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๑๔. นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์
๑๕. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๑๖. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
๑๗. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๑๘. นายวิทยา แก้วภราดัย
๑๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒๐. ศาสตราจารย์คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์
๒๑. ศาสตราจารย์พรชัย มาตังคสมบัติ ๒๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ พุทธิชีวิน
๒๓. รองศาสตราจารย์สมเจตน์ ภูศรี ๒๔. นายจรัส พวงมณี
๒๕. นายสบโชค สุขารมณ์ ๒๖. นายชวลิต ตุลยสิงห์
๒๗. นายเกรียงชัย จึงจตุรพิธ ๒๘. นายบรม ศรีสุข
๒๙. นายสงวน ตียะไพบูลย์สิน ๓๐. นายเรืองนนท์ เรืองวุฒิ
๓๑. นายอรรถพล ใหญ่สว่าง
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๐๕ นาฬิกา
(นายทวี พวงทะวาย)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รักษาราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
****************************************
ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๒๙ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธาน
สภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรขึ้นบัลลังก์
และกล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่างๆ ดังนี้
๑. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่
๑๓ กันยายน ๒๕๔๗ ได้พิจารณาและรับทราบร่างแผนปฏิบัติการเพื่อกำหนดขั้นตอนการ
กระจายอำนาจทางการเงิน การคลัง และงบประมาณให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น และร่างแผนปฏิบัติการถ่ายโอนบุคลากรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๒. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณา
ให้คำรับรอง จำนวน ๖ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระผู้บริโภค พ.ศ. ….
ซึ่ง นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติคนพิการ พ.ศ. …. ซึ่ง นายวิสิทธิ์
พิทยาภรณ์ เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ พ.ศ. ….
ซึ่ง นายสุวโรช พะลัง กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการใช้สารและวิธีการต้องห้าม
ทางการกีฬา พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติภาพยนตร์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายจำรัส
เวียงสงค์ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติกองทุนส่งเสริมภาพยนตร์ พ.ศ. ….
ซึ่ง นายจำรัส เวียงสงค์ เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้
ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน ตามมติ
ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอทองผาภูมิ
จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๑)
๒. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อน
ขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๓. ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อน
ขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ ทั้งนี้ที่ประชุมได้ลงมติเห็นชอบ
ด้วยกับข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการฯ ที่พิจารณาร่างพระราชบัญญัติพัฒนา
การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. …. และร่างพระราชบัญญัติการบริหาร
หนี้สาธารณะ พ.ศ. …. เพื่อแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีด้วย โดยในระหว่างการพิจารณา
ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. …. รองประธานสภาผู้แทนราษฎร
คนที่สองได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
๔. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังได้แถลงหลักการและเหตุผล
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติ
ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นางสาวสุภา ปิยะจิตติ
๓. นายมนัส แจ่มเวหา ๔. นายวิสิฐ ตันติสุนทร
๕. นายชนิสร์ คล้ายสังข์ ๖. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร
๗. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๘. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายสง่า จงเพิ่มดำรงชัย
๑๑. นายสามารถ แก้วมีชัย ๑๒. นายสัญชัย วงษ์สุนทร
๑๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๑๖. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๗. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๑๘. นายจำรัส เวียงสงค์
๑๙. นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต ๒๐. นายนัจมุดดีน อูมา
๒๑. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล ๒๒. นายประแสง มงคลศิริ
๒๓. นายธราพงษ์ สีลาวงษ์ ๒๔. นางสาววรวรรณ ปลั่งศรีสกุล
๒๕. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๖. นายบรรจง พงศ์ศาสตร์
๒๗. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๒๘. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๒๙. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๓๐. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
๓๑. นายจุติ ไกรฤกษ์ ๓๒. นายศิริโชค โสภา
๓๓. นายธนญ ตันติสุนทร ๓๔. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร
๓๕. ว่าที่ร้อยตรี เจริญศักดิ์ เอกสมาธิกุล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๓๐ วัน
๕. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๕)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นายสาธิต รังคสิริ
๓. นายมานิต นิธิประทีป ๔. นายพิพัฒน์ วรมาลี
๕. นางณัฐนันทน์ อัศวเลิศศักดิ์ ๖. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์
๗. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๘. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายสง่า จงเพิ่มดำรงชัย
๑๑. นายสามารถ แก้วมีชัย ๑๒. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
๑๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๔. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๕. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๑๖. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๗. นางสาวปาริชาติ ชาลีเครือ ๑๘. นายไพจิต ศรีวรขาน
๑๙. นายอารักษ์ ไชยริปู ๒๐. นายมุข สุไลมาน
๒๑. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ ๒๒. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๒๓. นางสาววรวรรณ ปลั่งศรีสกุล ๒๔. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๕. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๖. นายบรรจง พงศ์ศาสตร์
๒๗. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๒๘. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๒๙. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๓๐. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
๓๑. นายจุติ ไกรฤกษ์ ๓๒. นายศิริโชค โสภา
๓๓. นายธนญ ตันติสุนทร ๓๔. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓๕. พลเอก กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุม
เพื่อขอนำเรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา จากผู้แทน
ของพรรคการเมือง ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๖๑
(ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๕) ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ที่ประชุมได้มีมติเลือกกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
ตามสัดส่วนของพรรคการเมืองที่มีสมาชิกอยู่ในสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๙ คน
ประกอบเป็นคณะกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ตามข้อบังคับฯ
ข้อ ๑๖๑ คณะกรรมการสรรหาผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา จำนวน ๓๑ คน
ประกอบด้วย
๑. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๒. นายโสภณ เพชรสว่าง
๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๔. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๕. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๗. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์ ๘. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
๙. นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ ๑๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๑. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๒. นายภาคิน สมมิตร
๑๓. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๑๔. นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์
๑๕. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๑๖. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
๑๗. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๑๘. นายวิทยา แก้วภราดัย
๑๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒๐. ศาสตราจารย์คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์
๒๑. ศาสตราจารย์พรชัย มาตังคสมบัติ ๒๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ พุทธิชีวิน
๒๓. รองศาสตราจารย์สมเจตน์ ภูศรี ๒๔. นายจรัส พวงมณี
๒๕. นายสบโชค สุขารมณ์ ๒๖. นายชวลิต ตุลยสิงห์
๒๗. นายเกรียงชัย จึงจตุรพิธ ๒๘. นายบรม ศรีสุข
๒๙. นายสงวน ตียะไพบูลย์สิน ๓๐. นายเรืองนนท์ เรืองวุฒิ
๓๑. นายอรรถพล ใหญ่สว่าง
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๐๕ นาฬิกา
(นายทวี พวงทะวาย)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รักษาราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
****************************************