สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดสุกรในสัปดาห์นี้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ราคาเกษตรกรขายได้อ่อนตัวลงเล็กน้อย แต่ก็ยังเป็นราคาที่อยู่ในระดับสูง เนื่องจากปริมาณความต้องการบริโภคโดยรวมยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง และในช่วงกลางเดือนนี้จะเข้าสู่เทศกาลกินเจ ซึ่งเป็นช่วงที่ทำให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรลดลง แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวลดลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 41.29 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 39.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 38.23 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 42.18 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 47.90 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 800 บาท (บวกลบ 40 บาท) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 7.41 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.04
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
จากภาวะการระบาดของโรคไข้หวัดนกรอบ 2 ทำให้มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้หวัดนกส่งผลให้ภาวะการซื้อ-ขายไก่เนื้อชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่คาดว่าจะไม่รุนแรงเท่ากับรอบแรก รวมทั้ง EU ประกาศขยายการห้ามนำเข้าไก่สดแช่แข็งของไทยจากเดิมในเดือนธันวาคม 2547 ออกไปอีก 3 เดือน เป็นเดือน มีนาคม 2548
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 32.19 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 32.05 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.44 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 38.01 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 27.43 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 32.02 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 34.34 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 10.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 40.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากภาวะการระบาดของโรคไข้หวัดนกรอบ 2 ทำให้พื้นที่บางส่วนไม่สามารถเลี้ยงไก่ได้ เพราะยังอยู่ในช่วงเฝ้าระวังโรค ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตไข่ไก่ลดลง ความต้องการบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 256 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 253 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.19 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 246 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 263 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 257 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 252 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 25 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 247 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 274 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 268 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.24 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 244 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 285 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 276 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 288 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 356 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50.73 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 50.70 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.06 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 41.01 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 57.50 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 47.30 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 35.96 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.41 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.24 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 36.35 บาท ส่วนภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 38 ประจำวันที่ 27 กันยายน - 3 ตุลาคม 2547--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดสุกรในสัปดาห์นี้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ราคาเกษตรกรขายได้อ่อนตัวลงเล็กน้อย แต่ก็ยังเป็นราคาที่อยู่ในระดับสูง เนื่องจากปริมาณความต้องการบริโภคโดยรวมยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง และในช่วงกลางเดือนนี้จะเข้าสู่เทศกาลกินเจ ซึ่งเป็นช่วงที่ทำให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรลดลง แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวลดลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 41.29 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 39.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 38.23 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 42.18 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 47.90 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 800 บาท (บวกลบ 40 บาท) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 7.41 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.04
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
จากภาวะการระบาดของโรคไข้หวัดนกรอบ 2 ทำให้มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้หวัดนกส่งผลให้ภาวะการซื้อ-ขายไก่เนื้อชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่คาดว่าจะไม่รุนแรงเท่ากับรอบแรก รวมทั้ง EU ประกาศขยายการห้ามนำเข้าไก่สดแช่แข็งของไทยจากเดิมในเดือนธันวาคม 2547 ออกไปอีก 3 เดือน เป็นเดือน มีนาคม 2548
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 32.19 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 32.05 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.44 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 38.01 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 27.43 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 32.02 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 34.34 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 10.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่งไก่สดกิโลกรัมละ 40.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้ราคาเกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากภาวะการระบาดของโรคไข้หวัดนกรอบ 2 ทำให้พื้นที่บางส่วนไม่สามารถเลี้ยงไก่ได้ เพราะยังอยู่ในช่วงเฝ้าระวังโรค ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตไข่ไก่ลดลง ความต้องการบริโภคยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ร้อยฟองละ 256 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 253 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.19 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 246 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 263 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 257 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 252 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ตัวละ 25 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 247 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 274 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 268 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.24 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 244 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 285 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 276 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 288 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 356 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50.73 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 50.70 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.06 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 41.01 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 57.50 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 47.30 บาท ส่วนภาคกลางไม่มีรายงานราคา
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 35.96 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.41 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.24 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 34.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 36.35 บาท ส่วนภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 38 ประจำวันที่ 27 กันยายน - 3 ตุลาคม 2547--
-พห-