บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔
ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๕ นาฬิกา
เนื่องจาก นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎรไปราชการ
ต่างประเทศ เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภา
ผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรขึ้นบัลลังก์และ
กล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๗ เรื่อง
ให้นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ผู้สมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ ลำดับที่ ๓๙
เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทน นายอุทัย สุดสุข ซึ่งพ้นจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา ๑๑๘ (๓)
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และได้กล่าวนำนายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่
ตามมาตรา ๑๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๒. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณาให้คำรับรอง คือ
ร่างพระราชบัญญัติการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. ….
ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ เป็นผู้เสนอ
๓. ผลการดำเนินงานตามข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
พ.ศ. ….
๔. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์
ที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ และครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๗
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติซึ่งสภาผู้แทนราษฎร
ลงมติเห็นชอบแล้ว จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอทองผาภูมิ
จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. ….
(๒) ร่างพระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจำตำแหน่ง
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๕. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคาร
ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๗ ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
๒. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติ
ให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
๓. ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(ผู้รักษาการตามกฎหมาย) ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน
ลำดับที่ ๑)
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดี
ล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
๖. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๕)
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๗)
๘. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๘)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๙)
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๖)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้ให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว
ตามที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณา
๒. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติ
ให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔) โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายวัฒนา เซ่งไพเราะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายประชา มาลีนนท์)
และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย ที่ประชุมได้
ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายอนุชา โมกขะเวส
๓. นายสาโรช คัชมาตย์ ๔. นายธวัชชัย ฟักอังกูร
๕. นายนพดล เภรีฤกษ์ ๖. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ
๗. นายวิสูตร สำเร็จวาณิชย์ ๘. ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย
๙. นายลิขิต หมู่ดี ๑๐. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา
๑๑. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์ ๑๒. นางสาวอรุณี ชำนาญยา
๑๓. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ๑๔. นางบุญรื่น ศรีธเรศ
๑๕. นายประเสริฐ บุญเรือง ๑๖. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๗. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๑๘. นายชวลิต วิชยสุทธิ์
๑๙. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๒๐. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๒๑. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๔. นายสมศักดิ์ คุณเงิน
๒๕. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๖. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์
๒๗. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ ๒๘. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒๙. นายถาวร เสนเนียม ๓๐. นายเชน เทือกสุบรรณ
๓๑. นายวิชัย ตันศิริ ๓๒. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์
๓๓. นางผุสดี ตามไท ๓๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๕. นางผ่องศรี แซ่จึง
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๒ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(ผู้รักษาการตามกฎหมาย) ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน
ลำดับที่ ๑)
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดี
ล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
๖. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๕)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๔ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๗)
๘. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๘)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๙)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้แถลงหลักการและเหตุผล และก่อนที่สมาชิกฯ จะอภิปราย
ที่ประชุมได้มีมติให้รวมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในระเบียบวาระที่เรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๗, ๘
และ ๙ พร้อมกันแต่ให้ลงมติรับหลักการทีละฉบับ ตามลำดับ ตามข้อบังคับฯ ข้อ ๑๐๕
ทั้งนี้ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อนำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
คือ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. ซึ่ง นางผ่องศรี แซ่จึง และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๓) ขึ้นมาพิจารณารวมกันกับร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๙) ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
เมื่อสมาชิกฯ อภิปราย ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. ศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายวราสิทธิ์ กาญจนสูตร ๖. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายภาคิน สมมิตร
๙. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๐. รองศาสตราจารย์จักรพันธ์ ศิริธัญญาลักษณ์
๑๑. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๑๒. นายวิทยา ทรงคำ
๑๓. นางผณินทรา ภัคเกษม ๑๔. นายวิชาญ มีนชัยนันท์
๑๕. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๖. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๗. นายกิตติ สมทรัพย์ ๑๘. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๙. นายไพจิต ศรีวรขาน ๒๐. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๒๑. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายวิชัย ตันศิริ
๒๙. นายปรีชา สุวรรณทัต ๓๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปฐม ปฐมธนพงศ์
๓๑. นายยงยุทธ สุวภาพ ๓๒. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๓๓. นายพงศ์ประยูร ราชอาภัย ๓๔. นายชัย ชิดชอบ
๓๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สองได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อารมณ์ ตัตตะวะศาสตร์ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายอัชพร จารุจินดา ๖. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๙. นายเอกพร รักความสุข ๑๐. นายสุรชัย พันธุมาศ
๑๑. นายประแสง มงคลศิริ ๑๒. นายกิตติ สมทรัพย์
๑๓. นางสาวภัทรา วรามิตร ๑๔. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๑๕. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๑๖. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
๑๗. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ๑๘. นายสุทิน คลังแสง
๑๙. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ ๒๐. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๒๑. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ ๒๔. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร
๒๕. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒๖. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายวิชัย ตันศิริ
๒๙. นายปรีชา สุวรรณทัต ๓๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๓๑. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๓๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ โจทย์กิ่ง
๓๓. นายอิสสระ สมชัย ๓๔. นายชัย ชิดชอบ
๓๕. นายนริศร ทองธิราช
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
พ.ศ. …. (ซึ่งมีอยู่ ๒ ฉบับ) และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. นางสาวยุวดี ตปนียากร ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๖. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท
๙. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๑๐. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๑๑. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๑๒. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
๑๓. นายสงกรานต์ คำพิไสย์ ๑๔. นายกริช กงเพชร
๑๕. นายสุรศักดิ์ นาคดี ๑๖. นายสุทิน คลังแสง
๑๗. นายพีระเพชร ศิริกุล ๑๘. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
๑๙. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒๐. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๒๑. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ๓๐. นายศุภชัย ศรีหล้า
๓๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธิพงษ์ หกสุวรรณ ๓๒. นายอำนวย ปะติเส
๓๓. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๓๔. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๕. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๖)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก
๓ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ และนายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระที่ ๕.๕๓)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ และนายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระที่ ๕.๕๔)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
นางนิภา พริ้งศุลกะ กับคณะ เป็นเสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๕๗)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ
มีสมาชิกฯ อภิปราย ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับพร้อมกันไป
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรี
เป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุริยะ วงศ์คงคาเทพ ๒. รองศาสตราจารย์สายหยุด นิยมวิภาต
๓. นางสาววิภา เพ็งเสงี่ยม ๔. นางสาววิชชุดา อุ่นจิตติกุล
๕. นายขจร จิตสุขุมมงคล ๖. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
๗. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ ๘. นายอุดมเดช รัตนเสถียร
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นายพิพัฒน์ ยิ่งเสรี
๑๑. นายชลน่าน ศรีแก้ว ๑๒. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
๑๓. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๑๖. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๗. นางพิชญ์สินี มุ่งฝากกลาง กิตติรักษกุล ๑๘. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๑๙. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒๐. นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล
๒๑. นางสาวปาริชาติ ชาลีเครือ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. นายสุภาพ คลี่ขจาย ๒๔. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๒๕. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๖. นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๒๙. นายปรีชา สุวรรณทัต ๓๐. นางละเอียด แจ่มจันทร์
๓๑. นางผุสดี ตามไท ๓๒. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๓๓. นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ๓๔. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๓๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ก่อนเลิกประชุม ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษา
ที่ประชุมเพื่อขอนำระเบียบวาระที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุม
เห็นชอบ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระที่ ๗
เรื่องอื่น ๆ ตามลำดับ คือ
๑. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการการ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระ
ที่ ๗.๓)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายธีระ สลักเพชร เป็นกรรมาธิการแทน
นางประไพพรรณ เส็งประเสริฐ
๒. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการการตำรวจ
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๑)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายยงยุทธ สุวภาพ เป็นกรรมาธิการแทน
นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร
๓. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๒)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายสมพงษ์ หิริกุล เป็นกรรมาธิการแทน
นายจินดา วงศ์สวัสดิ์
๔. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการ
การสวัสดิการสังคม แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๒ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๓)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ เป็นกรรมาธิการแทน
นายยงยุทธ สุวภาพ และนายประสิทธิ์ ภักดีพาณิชพงศ์ เป็นกรรมาธิการแทน
นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๕. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการกิจการ
สภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๕)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ เป็นกรรมาธิการแทน
นายเจริญ คันธวงศ์
เลิกประชุมเวลา ๑๗.๕๕ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๕. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๔ ฉบับ)
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๔ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (ผู้รักษาการตามกฎหมาย)
๒. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจาณาคดีเยาวชน
และครอบครัว (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
******************************
ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๕ นาฬิกา
เนื่องจาก นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎรไปราชการ
ต่างประเทศ เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภา
ผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรขึ้นบัลลังก์และ
กล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๗ เรื่อง
ให้นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ผู้สมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ ลำดับที่ ๓๙
เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทน นายอุทัย สุดสุข ซึ่งพ้นจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา ๑๑๘ (๓)
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และได้กล่าวนำนายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่
ตามมาตรา ๑๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๒. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณาให้คำรับรอง คือ
ร่างพระราชบัญญัติการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. ….
ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ เป็นผู้เสนอ
๓. ผลการดำเนินงานตามข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
พ.ศ. ….
๔. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์
ที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ และครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๗
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติซึ่งสภาผู้แทนราษฎร
ลงมติเห็นชอบแล้ว จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอทองผาภูมิ
จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. ….
(๒) ร่างพระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจำตำแหน่ง
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๕. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคาร
ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๗ ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
๒. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติ
ให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
๓. ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(ผู้รักษาการตามกฎหมาย) ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน
ลำดับที่ ๑)
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดี
ล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
๖. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๕)
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๗)
๘. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๘)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๙)
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๖)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้ให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว
ตามที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณา
๒. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติ
ให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔) โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายวัฒนา เซ่งไพเราะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายประชา มาลีนนท์)
และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย ที่ประชุมได้
ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายอนุชา โมกขะเวส
๓. นายสาโรช คัชมาตย์ ๔. นายธวัชชัย ฟักอังกูร
๕. นายนพดล เภรีฤกษ์ ๖. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ
๗. นายวิสูตร สำเร็จวาณิชย์ ๘. ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย
๙. นายลิขิต หมู่ดี ๑๐. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา
๑๑. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์ ๑๒. นางสาวอรุณี ชำนาญยา
๑๓. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ๑๔. นางบุญรื่น ศรีธเรศ
๑๕. นายประเสริฐ บุญเรือง ๑๖. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๗. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๑๘. นายชวลิต วิชยสุทธิ์
๑๙. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๒๐. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๒๑. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๔. นายสมศักดิ์ คุณเงิน
๒๕. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๖. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์
๒๗. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ ๒๘. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒๙. นายถาวร เสนเนียม ๓๐. นายเชน เทือกสุบรรณ
๓๑. นายวิชัย ตันศิริ ๓๒. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์
๓๓. นางผุสดี ตามไท ๓๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๕. นางผ่องศรี แซ่จึง
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๒ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(ผู้รักษาการตามกฎหมาย) ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน
ลำดับที่ ๑)
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดี
ล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
๖. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๕)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๔ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๗)
๘. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๘)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๙)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้แถลงหลักการและเหตุผล และก่อนที่สมาชิกฯ จะอภิปราย
ที่ประชุมได้มีมติให้รวมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในระเบียบวาระที่เรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๗, ๘
และ ๙ พร้อมกันแต่ให้ลงมติรับหลักการทีละฉบับ ตามลำดับ ตามข้อบังคับฯ ข้อ ๑๐๕
ทั้งนี้ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อนำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
คือ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. ซึ่ง นางผ่องศรี แซ่จึง และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๔๓) ขึ้นมาพิจารณารวมกันกับร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
(ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๙) ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
เมื่อสมาชิกฯ อภิปราย ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. ศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายวราสิทธิ์ กาญจนสูตร ๖. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายภาคิน สมมิตร
๙. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๐. รองศาสตราจารย์จักรพันธ์ ศิริธัญญาลักษณ์
๑๑. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๑๒. นายวิทยา ทรงคำ
๑๓. นางผณินทรา ภัคเกษม ๑๔. นายวิชาญ มีนชัยนันท์
๑๕. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๖. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๗. นายกิตติ สมทรัพย์ ๑๘. นายประดุจ มั่นหมาย
๑๙. นายไพจิต ศรีวรขาน ๒๐. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๒๑. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายวิชัย ตันศิริ
๒๙. นายปรีชา สุวรรณทัต ๓๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปฐม ปฐมธนพงศ์
๓๑. นายยงยุทธ สุวภาพ ๓๒. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๓๓. นายพงศ์ประยูร ราชอาภัย ๓๔. นายชัย ชิดชอบ
๓๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สองได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อารมณ์ ตัตตะวะศาสตร์ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายอัชพร จารุจินดา ๖. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๙. นายเอกพร รักความสุข ๑๐. นายสุรชัย พันธุมาศ
๑๑. นายประแสง มงคลศิริ ๑๒. นายกิตติ สมทรัพย์
๑๓. นางสาวภัทรา วรามิตร ๑๔. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๑๕. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๑๖. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
๑๗. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ๑๘. นายสุทิน คลังแสง
๑๙. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ ๒๐. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๒๑. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ ๒๔. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร
๒๕. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒๖. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายวิชัย ตันศิริ
๒๙. นายปรีชา สุวรรณทัต ๓๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๓๑. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๓๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ โจทย์กิ่ง
๓๓. นายอิสสระ สมชัย ๓๔. นายชัย ชิดชอบ
๓๕. นายนริศร ทองธิราช
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
พ.ศ. …. (ซึ่งมีอยู่ ๒ ฉบับ) และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. นางสาวยุวดี ตปนียากร ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๖. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท
๙. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๑๐. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๑๑. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๑๒. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
๑๓. นายสงกรานต์ คำพิไสย์ ๑๔. นายกริช กงเพชร
๑๕. นายสุรศักดิ์ นาคดี ๑๖. นายสุทิน คลังแสง
๑๗. นายพีระเพชร ศิริกุล ๑๘. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
๑๙. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒๐. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๒๑. พันเอก วินัย สมพงษ์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ๓๐. นายศุภชัย ศรีหล้า
๓๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธิพงษ์ หกสุวรรณ ๓๒. นายอำนวย ปะติเส
๓๓. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๓๔. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๕. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๖)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก
๓ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ และนายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระที่ ๕.๕๓)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ และนายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระที่ ๕.๕๔)
(๓) ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. ซึ่ง
นางนิภา พริ้งศุลกะ กับคณะ เป็นเสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๕๗)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ
มีสมาชิกฯ อภิปราย ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๔ ฉบับพร้อมกันไป
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรี
เป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุริยะ วงศ์คงคาเทพ ๒. รองศาสตราจารย์สายหยุด นิยมวิภาต
๓. นางสาววิภา เพ็งเสงี่ยม ๔. นางสาววิชชุดา อุ่นจิตติกุล
๕. นายขจร จิตสุขุมมงคล ๖. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
๗. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ ๘. นายอุดมเดช รัตนเสถียร
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นายพิพัฒน์ ยิ่งเสรี
๑๑. นายชลน่าน ศรีแก้ว ๑๒. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
๑๓. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์ ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๑๖. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๗. นางพิชญ์สินี มุ่งฝากกลาง กิตติรักษกุล ๑๘. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๑๙. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒๐. นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล
๒๑. นางสาวปาริชาติ ชาลีเครือ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. นายสุภาพ คลี่ขจาย ๒๔. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๒๕. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๖. นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๒๙. นายปรีชา สุวรรณทัต ๓๐. นางละเอียด แจ่มจันทร์
๓๑. นางผุสดี ตามไท ๓๒. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๓๓. นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ๓๔. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๓๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ก่อนเลิกประชุม ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษา
ที่ประชุมเพื่อขอนำระเบียบวาระที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุม
เห็นชอบ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระที่ ๗
เรื่องอื่น ๆ ตามลำดับ คือ
๑. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการการ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระ
ที่ ๗.๓)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายธีระ สลักเพชร เป็นกรรมาธิการแทน
นางประไพพรรณ เส็งประเสริฐ
๒. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการการตำรวจ
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๑)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายยงยุทธ สุวภาพ เป็นกรรมาธิการแทน
นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร
๓. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๒)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายสมพงษ์ หิริกุล เป็นกรรมาธิการแทน
นายจินดา วงศ์สวัสดิ์
๔. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการ
การสวัสดิการสังคม แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๒ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๓)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ เป็นกรรมาธิการแทน
นายยงยุทธ สุวภาพ และนายประสิทธิ์ ภักดีพาณิชพงศ์ เป็นกรรมาธิการแทน
นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๕. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการกิจการ
สภาผู้แทนราษฎร แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑๕)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ เป็นกรรมาธิการแทน
นายเจริญ คันธวงศ์
เลิกประชุมเวลา ๑๗.๕๕ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๕. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๔ ฉบับ)
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๔ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (ผู้รักษาการตามกฎหมาย)
๒. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจาณาคดีเยาวชน
และครอบครัว (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
******************************