1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.24 บาท ลดลงจาก กก.ละ 12.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 6.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.35 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 11.25 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.28 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
กากถั่วเหลืองอินเดียเข้ามาตีตลาดญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นมีการนำเข้าสินค้าจากอินเดียเพียง 5-6 ชนิดเท่านั้น หนึ่งในนั้นคือ กากถั่วเหลือง คาดว่าช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม จะส่งมอบสินค้าฤดูกาลใหม่ประมาณ 60,000-72,000 ตัน เทียบกับ 105,113 ตัน ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา การนำเข้าโดยรวมลดลง ตามนโยบายของรัฐให้ผู้ผลิตอาหารสัตว์ซื้อวัตถุดิบภายในประเทศก่อน หากไม่เพียงพอจึงสามารถนำเข้าได้
อินเดียเป็นผู้จำหน่ายกากถั่วเหลืองรายใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น รองลงมาได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และบราซิล ตามลำดับ ญี่ปุ่นบริโภคกากถั่วเหลืองปีละประมาณ 4 ล้านตัน โดยภาพรวมกากถั่วเหลืองที่นำเข้าคิดเป็นสัดส่วน 1 : 4 แต่ครั้งนี้อินเดียเสนอขายกากถั่วเหลืองในราคาตันละ 30,000 เยน ขณะที่ราคาภายในประเทศอยู่ระหว่างตันละ 31,000-32,000 เยน ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 511.67 เซนต์ (7.68 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 523.33 เซนต์ (7.92 บาท/กก.)ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.23
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 150.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 150.60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 20.45 เซนต์ (18.41 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 20.90 เซนต์ (18.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.15
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
ข่าววิทยุ 8 - 14 พ.ย. 2547
ถั่วเหลือง
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.24 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.76 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.35 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.10 บาท
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.28 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
กากถั่วเหลืองอินเดียเข้ามาตีตลาดญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นมีการนำเข้าสินค้าจากอินเดียเพียง 5-6 ชนิดเท่านั้น หนึ่งในนั้นคือ กากถั่วเหลือง คาดว่าช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม จะส่งมอบสินค้าฤดูกาลใหม่ประมาณ 60,000-72,000 ตัน เทียบกับ 105,113 ตัน ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา การนำเข้าโดยรวมลดลง ตามนโยบายของรัฐให้ผู้ผลิตอาหารสัตว์ซื้อวัตถุดิบภายในประเทศก่อน หากไม่เพียงพอจึงสามารถนำเข้าได้
อินเดียเป็นผู้จำหน่ายกากถั่วเหลืองรายใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น รองลงมาได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และบราซิล ตามลำดับ ญี่ปุ่นบริโภคกากถั่วเหลืองปีละประมาณ 4 ล้านตัน โดยภาพรวมกากถั่วเหลืองที่นำเข้าคิดเป็นสัดส่วน 1 : 4 แต่ครั้งนี้อินเดียเสนอขายกากถั่วเหลืองในราคาตันละ 30,000 เยน ขณะที่ราคาภายในประเทศอยู่ระหว่างตันละ 31,000-32,000 เยน ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 511.67 เซนต์ หรือ กก.ละ 7.68 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อนบุชเชลละ 11.66 เซนต์ หรือ กก.ละ 0.36 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 44 ประจำวันที่ 8-14 พฤศจิกายน 2547--
-พห-
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.24 บาท ลดลงจาก กก.ละ 12.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 6.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.35 บาท สูงขึ้นจาก กก.ละ 11.25 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.28 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
กากถั่วเหลืองอินเดียเข้ามาตีตลาดญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นมีการนำเข้าสินค้าจากอินเดียเพียง 5-6 ชนิดเท่านั้น หนึ่งในนั้นคือ กากถั่วเหลือง คาดว่าช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม จะส่งมอบสินค้าฤดูกาลใหม่ประมาณ 60,000-72,000 ตัน เทียบกับ 105,113 ตัน ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา การนำเข้าโดยรวมลดลง ตามนโยบายของรัฐให้ผู้ผลิตอาหารสัตว์ซื้อวัตถุดิบภายในประเทศก่อน หากไม่เพียงพอจึงสามารถนำเข้าได้
อินเดียเป็นผู้จำหน่ายกากถั่วเหลืองรายใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น รองลงมาได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และบราซิล ตามลำดับ ญี่ปุ่นบริโภคกากถั่วเหลืองปีละประมาณ 4 ล้านตัน โดยภาพรวมกากถั่วเหลืองที่นำเข้าคิดเป็นสัดส่วน 1 : 4 แต่ครั้งนี้อินเดียเสนอขายกากถั่วเหลืองในราคาตันละ 30,000 เยน ขณะที่ราคาภายในประเทศอยู่ระหว่างตันละ 31,000-32,000 เยน ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 511.67 เซนต์ (7.68 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 523.33 เซนต์ (7.92 บาท/กก.)ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.23
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 150.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 150.60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 20.45 เซนต์ (18.41 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 20.90 เซนต์ (18.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.15
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
ข่าววิทยุ 8 - 14 พ.ย. 2547
ถั่วเหลือง
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.24 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.76 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.35 บาท สูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 0.10 บาท
ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองใน สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 11.28 บาท ทรงตัว
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
กากถั่วเหลืองอินเดียเข้ามาตีตลาดญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นมีการนำเข้าสินค้าจากอินเดียเพียง 5-6 ชนิดเท่านั้น หนึ่งในนั้นคือ กากถั่วเหลือง คาดว่าช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม จะส่งมอบสินค้าฤดูกาลใหม่ประมาณ 60,000-72,000 ตัน เทียบกับ 105,113 ตัน ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา การนำเข้าโดยรวมลดลง ตามนโยบายของรัฐให้ผู้ผลิตอาหารสัตว์ซื้อวัตถุดิบภายในประเทศก่อน หากไม่เพียงพอจึงสามารถนำเข้าได้
อินเดียเป็นผู้จำหน่ายกากถั่วเหลืองรายใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น รองลงมาได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา และบราซิล ตามลำดับ ญี่ปุ่นบริโภคกากถั่วเหลืองปีละประมาณ 4 ล้านตัน โดยภาพรวมกากถั่วเหลืองที่นำเข้าคิดเป็นสัดส่วน 1 : 4 แต่ครั้งนี้อินเดียเสนอขายกากถั่วเหลืองในราคาตันละ 30,000 เยน ขณะที่ราคาภายในประเทศอยู่ระหว่างตันละ 31,000-32,000 เยน ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 511.67 เซนต์ หรือ กก.ละ 7.68 บาท ลดลงจากสัปดาห์ก่อนบุชเชลละ 11.66 เซนต์ หรือ กก.ละ 0.36 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 44 ประจำวันที่ 8-14 พฤศจิกายน 2547--
-พห-