บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔
ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๑๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎรนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง และนายสุชาติ ตันเจริญ รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุม
รับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติซึ่งคณะกรรมาธิการ
ร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว จำนวน ๓ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (การงดการบังคับคดีและการขายทอดตลาด)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ….
(๓) ร่างพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติให้ขยายเวลาการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติออกไป
เป็นกรณีพิเศษ อีก ๓๐ วัน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๔ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพาณิชยนาวี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ให้ขยายเวลานับแต่วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
(๒) ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. ….
ให้ขยายเวลานับแต่วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
๓. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบแล้ว
๔. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติตั้งกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายวุฒิสภา เพื่อพิจารณา
ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ….
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมรับรอง
รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
จำนวน ๒ ครั้ง คือ
ครั้งที่ ๓ วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๗
ครั้งที่ ๖ วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๗
ที่ประชุมได้รับรองรายงานการประชุมทั้ง ๒ ครั้งดังกล่าว
ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
จากนั้นได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน ตามมติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ คือ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบ
วาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๑)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ในวาระที่ ๒ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ
แล้วเรียงตามลำดับมาตราจนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระตามลำดับดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติการบริหาร
หนี้สาธารณะ พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๙)
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๐)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติการบริหาร
หนี้สาธารณะ พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๙)
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๐)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
และได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับดังกล่าว
ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (๓)
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม โดยขอนำระเบียบวาระ
ตามลำดับดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (การขอพระราชทานอภัยโทษ) ซึ่งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง
อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการการปกครองพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระที่ ๔.๖)
๓. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๔)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๗)
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒)
๗. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๓)
๘. ร่างพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๔)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๕)
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๖)
๑๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๗)
๑๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๘)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ
ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (การขอพระราชทานอภัยโทษ) ซึ่งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง
อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการการปกครองพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระที่ ๔.๖)
๓. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๔)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๗)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๕ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่างและได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๕ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒)
๗. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๓)
๘. ร่างพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๔)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๕)
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๖)
๑๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๗)
๑๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๘)
ที่ประชุมได้มีมติให้รวมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในระเบียบวาระที่ ๖.๒,
๖.๓, ๖.๔, ๖.๕, ๖.๖, ๖.๗ และ ๖.๘ พร้อมกันแต่ให้ลงมติรับหลักการ ทีละฉบับ
ตามลำดับ
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้แถลงหลักการและเหตุผล ทีละฉบับ ตามลำดับ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำ
ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ คือ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ พ.ศ. …. ซึ่ง ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๙)
ขึ้นมาพิจารณารวมกันกับร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒) ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ต่อมา ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล โดยมีรองประธานสภาผู้แทน
ราษฎรคนที่สองได้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังสมาชิกฯ
อภิปราย ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีเป็นหลัก
ในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๓. ศาสตราจารย์ธีรวุฒิ บุณยโสภณ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายวราสิทธิ์ กาญจนสูตร ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายมงคล กิมสูนจันทร์ ๘. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๑๑. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๒. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๑๓. นายภาคิน สมมิตร ๑๔. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๕. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๑๖. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๑๗. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๑๘. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๑๙. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๒๐. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๑. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายสุภาพ คลี่ขจาย
๒๕. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์ ๒๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๓๑. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๓๒. รองศาสตราจารย์เธียรชัย บุณยะกุล
๓๓. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ ๓๔. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๕. นายประพัฒน์พงษ์ เสนาฤทธิ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. รองศาสตราจารย์กิตติ ตีรเศรษฐ ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายสุรพล ทิพย์เสนา ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายมงคล กิมสูนจันทร์ ๘. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๑๑. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๒. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๑๓. นายภาคิน สมมิตร ๑๔. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๕. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๑๖. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๑๗. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๑๘. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๑๙. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๒๐. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๑. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายสุภาพ คลี่ขจาย
๒๕. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์ ๒๖. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๓๑. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล ๓๒. นายตรีพล เจาะจิตต์
๓๓. นายบุญส่ง ไข่เกษ ๓๔. นายนริศร ทองธิราช
๓๕. นายอานนท์ เที่ยงตรง
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อจากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย
๓. ศาสตราจารย์เกื้อ วงศ์บุญสิน ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายสุชัย งามจิตต์เอื้อ ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๔. นายสมพงษ์ หิริกุล
๒๕. นายกมล บันไดเพชร ๒๖. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายเจริญ คันธวงศ์
๓๑. นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ๓๒. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
๓๓. ศาสตราจารย์เทียนฉาย กีระนันทน์ ๓๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๕. นายกระจ่าง พันธุมนาวิน
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. นายพิชิตชัย ผ่องอุดม ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายสุชัย งามจิตต์เอื้อ ๖. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๗. นายปรีชา สุวรรณทัต ๘. นายวิชัย ตันศิริ
๙. นางผุสดี ตามไท ๑๐. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๑. นายสรรเสริญ สมะลาภา ๑๒. นายประกอบ รัตนพันธ์
๑๓. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๑๔. นายกำธร จันทร์แสง
๑๕. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๑๗. นายประแสง มงคลศิริ ๑๘. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง
๑๙. นางกรรณิกา ธรรมเกษร ๒๐. นายภาคิน สมมิตร
๒๑. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๒๒. นายเกรียงไกร ไชยมงคล
๒๓. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๒๔. นายวิสันต์ เดชเสน
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นายสุรชัย พันธุมาศ
๒๗. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒๘. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๒๙. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๓๐. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๓๑. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๓๒. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๓๓. นายสมพงษ์ หิริกุล ๓๔. นายกมล บันไดเพชร
๓๕. นายจำรัส เวียงสงค์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๓. รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ชัย อัตถากร ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๖. นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๑. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๒๒. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๒๓. นายสมพงษ์ หิริกุล ๒๔. นายกมล บันไดเพชร
๒๕. นายจำรัส เวียงสงค์ ๒๖. นายสุทิน คลังแสง
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ
๓๑. นางผุสดี ตามไท ๓๒. นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์
๓๓. นายชิงชัย หาญเจนลักษณ์ ๓๔. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๓๕. นายพิพัฒน์ โกศัลพัฒน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อจากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. นายสมบัติ วอทอง ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายวราสิทธิ์ กาญจนสูตร ๖. นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายชวลิต มหาจันทร์
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๔. นายสมพงษ์ หิริกุล
๒๕. นายกมล บันไดเพชร ๒๖. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๓๑. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ๓๒. นายอิสสระ สมชัย
๓๓. นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท ๓๔. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๕. นายประพัฒน์พงษ์ เสนาฤทธิ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๓. รองศาสตราจารย์นภาภรณ์ หะวานนท์ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๖. นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. นายสุทิน คลังแสง
๒๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๔. นายสมพงษ์ หิริกุล
๒๕. นายกมล บันไดเพชร ๒๖. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายอาคม เอ่งฉ้วน
๓๑. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๓๒. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๓๓. นายชัยชาติ ภิญโญ ๓๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๕. นายกระจ่าง พันธุมนาวิน
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ) ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ในวาระที่ ๒ โดยเริ่มต้น
ด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตราจนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบ
ในวาระที่ ๓ เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๔๕ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๗ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (การขอพระราชทานอภัยโทษ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ….
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม ตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (๓) จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๗ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ….
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ….
****************************************
ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๑๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๗
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎรนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง และนายสุชาติ ตันเจริญ รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุม
รับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติซึ่งคณะกรรมาธิการ
ร่วมกันพิจารณาเสร็จแล้ว จำนวน ๓ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (การงดการบังคับคดีและการขายทอดตลาด)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ….
(๓) ร่างพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติให้ขยายเวลาการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติออกไป
เป็นกรณีพิเศษ อีก ๓๐ วัน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๔ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพาณิชยนาวี (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ให้ขยายเวลานับแต่วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
(๒) ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. ….
ให้ขยายเวลานับแต่วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
๓. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบแล้ว
๔. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
ได้ลงมติตั้งกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายวุฒิสภา เพื่อพิจารณา
ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ….
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมรับรอง
รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
จำนวน ๒ ครั้ง คือ
ครั้งที่ ๓ วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๗
ครั้งที่ ๖ วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๗
ที่ประชุมได้รับรองรายงานการประชุมทั้ง ๒ ครั้งดังกล่าว
ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
จากนั้นได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อน ตามมติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ คือ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบ
วาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๑)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ในวาระที่ ๒ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ
แล้วเรียงตามลำดับมาตราจนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระตามลำดับดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติการบริหาร
หนี้สาธารณะ พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๙)
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๐)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติการบริหาร
หนี้สาธารณะ พ.ศ. …. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๗)
๒. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๙)
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ….
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒๐)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
และได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับดังกล่าว
ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (๓)
ต่อจากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม โดยขอนำระเบียบวาระ
ตามลำดับดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (การขอพระราชทานอภัยโทษ) ซึ่งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง
อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการการปกครองพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระที่ ๔.๖)
๓. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๔)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๗)
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒)
๗. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๓)
๘. ร่างพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๔)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๕)
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๖)
๑๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๗)
๑๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๘)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ
ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (การขอพระราชทานอภัยโทษ) ซึ่งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง
อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการการปกครองพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระที่ ๔.๖)
๓. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๕)
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๔)
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๗)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๕ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่างและได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๕ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒)
๗. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๓)
๘. ร่างพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๔)
๙. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๕)
๑๐. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๖)
๑๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๗)
๑๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๘)
ที่ประชุมได้มีมติให้รวมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในระเบียบวาระที่ ๖.๒,
๖.๓, ๖.๔, ๖.๕, ๖.๖, ๖.๗ และ ๖.๘ พร้อมกันแต่ให้ลงมติรับหลักการ ทีละฉบับ
ตามลำดับ
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้แถลงหลักการและเหตุผล ทีละฉบับ ตามลำดับ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำ
ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ คือ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ พ.ศ. …. ซึ่ง ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๙)
ขึ้นมาพิจารณารวมกันกับร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒) ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ต่อมา ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล โดยมีรองประธานสภาผู้แทน
ราษฎรคนที่สองได้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังสมาชิกฯ
อภิปราย ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีเป็นหลัก
ในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๓. ศาสตราจารย์ธีรวุฒิ บุณยโสภณ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายวราสิทธิ์ กาญจนสูตร ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายมงคล กิมสูนจันทร์ ๘. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๑๑. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๒. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๑๓. นายภาคิน สมมิตร ๑๔. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๕. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๑๖. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๑๗. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๑๘. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๑๙. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๒๐. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๑. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายสุภาพ คลี่ขจาย
๒๕. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์ ๒๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายบุญส่ง ไข่เกษ
๓๑. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๓๒. รองศาสตราจารย์เธียรชัย บุณยะกุล
๓๓. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ ๓๔. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๕. นายประพัฒน์พงษ์ เสนาฤทธิ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. รองศาสตราจารย์กิตติ ตีรเศรษฐ ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายสุรพล ทิพย์เสนา ๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๗. นายมงคล กิมสูนจันทร์ ๘. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
๙. นายสมนึก สกุลรัตนกุลชัย ๑๐. นายวีรวัฒน์ พ่วงพิศ
๑๑. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๒. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๑๓. นายภาคิน สมมิตร ๑๔. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๕. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๑๖. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๑๗. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๑๘. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๑๙. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๒๐. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๑. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๒๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๓. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๒๔. นายสุภาพ คลี่ขจาย
๒๕. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์ ๒๖. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๓๑. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล ๓๒. นายตรีพล เจาะจิตต์
๓๓. นายบุญส่ง ไข่เกษ ๓๔. นายนริศร ทองธิราช
๓๕. นายอานนท์ เที่ยงตรง
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อจากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย
๓. ศาสตราจารย์เกื้อ วงศ์บุญสิน ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายสุชัย งามจิตต์เอื้อ ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๔. นายสมพงษ์ หิริกุล
๒๕. นายกมล บันไดเพชร ๒๖. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายเจริญ คันธวงศ์
๓๑. นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ ๓๒. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
๓๓. ศาสตราจารย์เทียนฉาย กีระนันทน์ ๓๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๕. นายกระจ่าง พันธุมนาวิน
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. นายพิชิตชัย ผ่องอุดม ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายสุชัย งามจิตต์เอื้อ ๖. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน
๗. นายปรีชา สุวรรณทัต ๘. นายวิชัย ตันศิริ
๙. นางผุสดี ตามไท ๑๐. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๑. นายสรรเสริญ สมะลาภา ๑๒. นายประกอบ รัตนพันธ์
๑๓. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๑๔. นายกำธร จันทร์แสง
๑๕. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๑๗. นายประแสง มงคลศิริ ๑๘. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง
๑๙. นางกรรณิกา ธรรมเกษร ๒๐. นายภาคิน สมมิตร
๒๑. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๒๒. นายเกรียงไกร ไชยมงคล
๒๓. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๒๔. นายวิสันต์ เดชเสน
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นายสุรชัย พันธุมาศ
๒๗. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒๘. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๒๙. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๓๐. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๓๑. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๓๒. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๓๓. นายสมพงษ์ หิริกุล ๓๔. นายกมล บันไดเพชร
๓๕. นายจำรัส เวียงสงค์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๓. รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ชัย อัตถากร ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๖. นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๒๑. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๒๒. นายชูศักดิ์ ศิรินิล
๒๓. นายสมพงษ์ หิริกุล ๒๔. นายกมล บันไดเพชร
๒๕. นายจำรัส เวียงสงค์ ๒๖. นายสุทิน คลังแสง
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ
๓๑. นางผุสดี ตามไท ๓๒. นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์
๓๓. นายชิงชัย หาญเจนลักษณ์ ๓๔. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๓๕. นายพิพัฒน์ โกศัลพัฒน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อจากนั้น ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. นายสมบัติ วอทอง ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายวราสิทธิ์ กาญจนสูตร ๖. นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายชวลิต มหาจันทร์
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๒๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๔. นายสมพงษ์ หิริกุล
๒๕. นายกมล บันไดเพชร ๒๖. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๓๑. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ๓๒. นายอิสสระ สมชัย
๓๓. นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท ๓๔. นางผ่องศรี แซ่จึง
๓๕. นายประพัฒน์พงษ์ เสนาฤทธิ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. …. และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๒. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๓. รองศาสตราจารย์นภาภรณ์ หะวานนท์ ๔. นายโอภาส เขียววิชัย
๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๖. นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
๗. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง ๑๐. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๑. นายภาคิน สมมิตร ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายเกรียงไกร ไชยมงคล ๑๔. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๑๕. นายวิสันต์ เดชเสน ๑๖. นายเอกพร รักความสุข
๑๗. นายสุรชัย พันธุมาศ ๑๘. นายสฤต สันติเมทนีดล
๑๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๐. นายสุทิน คลังแสง
๒๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๒๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๒๓. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๔. นายสมพงษ์ หิริกุล
๒๕. นายกมล บันไดเพชร ๒๖. นายจำรัส เวียงสงค์
๒๗. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๘. นายปรีชา สุวรรณทัต
๒๙. นายวิชัย ตันศิริ ๓๐. นายอาคม เอ่งฉ้วน
๓๑. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๓๒. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๓๓. นายชัยชาติ ภิญโญ ๓๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๓๕. นายกระจ่าง พันธุมนาวิน
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ) ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ในวาระที่ ๒ โดยเริ่มต้น
ด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตราจนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบ
ในวาระที่ ๓ เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๔๕ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๗ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (การขอพระราชทานอภัยโทษ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ….
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ….
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ….
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม ตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๗๕ (๓) จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๗ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ….
๔. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ….
๕. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ….
๖. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ….
๗. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. ….
****************************************